ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

Omo Yaya

ขาประจำ
  • จำนวนเนื้อหา

    21
  • เข้าร่วม

  • เข้ามาล่าสุด

คะแนนนิยม

0 ปานกลาง

เกี่ยวกับ Omo Yaya

  • คะแนนนิยม
    น้องใหม่

Profile Information

  • เพศ
    ไม่บอก
  • ที่อยู่
    สมุทรปราการ

ผู้เยี่ยมชมโปรไฟล์ล่าสุด

บล็อคผู้เยี่ยมชมเมื่อเร็วๆนี้ถูกปิดการใช้งานและไม่ถูกแสดงกับผู้ใช้งานอื่น

  1. จากที่เคยเล่าไว้ถึง สาเหตุของการแปรรูป และประโยชน์ที่ประเทศชาติได้รับ ซึ่งจะขอย้อนความ ถึงประโยชน์ที่ชาติจะได้รับจากการแปรรูป 3 ข้อหลัก คือ 1.เป็นการระดมทุนเพื่อไปแก้ไขปรับสถานการณ์การเงินบริษัทในเครือทั้งหลาย ของ ปตท. ซึ่งเป็นผลดีต่อรัฐ เพราะรัฐจะได้ปันผลเป็นรายได้ ในรูปแบบต่างๆ กลับเข้าสู่รัฐมากขึ้น 2เป็นการระดมทุนเพื่อนำเงินไปซื้อโรงกลั่น ทำให้โรงกลั่นเป็นของคนไทย เงินทองไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ 3.เป็นการกระตุ้นตลาดหลักทรัพย์ ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนมากขึ้น โดยจะเห็นว่าการแปรรูปในครั้งนี้สร้างผลประโยชน์มากมายให้กับประเทศ ในรูปแบบของเม็ดเงินเข้ารัฐและเม็ดเงินลงทุน จากที่มีกระแสทวงคืน ปตท ให้กลับมาเป็นของรัฐ ทั้งที่ตอนนี้ ปตท. กลายเป็นบริษัทมหาชนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศบ้าง 1.หากใช้วิธียึดคืน นั่นคือการทำลายความน่าเชื่อถือในการลงทุนของประเทศ ซึ่งมีผลโดยตรงกับนักลงทุนที่จะนำเงินมาลงทุนทั้งในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ ทำให้ประเทศชาติเสียเม็ดเงินจำนวนมหาศาลจากนักลงทุนและมีผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศ 2.หากใช้วิธีซื้อคืน รัฐต้องระดมทุนมหาศาลเพื่อซื้อหุ้นจำนวน 2.8 พันล้านหุ้น คิดมูลค่าหุ้นทั่วไป รัฐจะต้องใช้เงินประมาณ 1 ล้านล้านบาท (คิดมูลค่าต่อหุ้น 380 บาท) ในการซื้อหุ้นคืน เพื่อให้ ปตท. กลับเป็นของรัฐ นอกจากจะเป็นเรื่องยากและเกิดความเสียหายมากมายในการนำหุ้นกลับมาเป็นของรัฐแล้ว รัฐยังต้องลงแรงในการเข้ามาบริหารงานในส่วนนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอะไรการันตีเลยว่าการลงทุนมหาศาลอย่างนี้จะสร้างความคุ้มค่าให้กับรัฐ กลับกันจะเพิ่มความเสี่ยงในการบริหารอีกด้วย สิ่งหนึ่งที่กลุ่มทวงคืนพลังงานหรือ NGO มักนำมาเพื่อปลุกปั่นกระแสทวงคืนพลังงาน คือการที่พยายามบิดเบือนว่า หาก ปตท. กลับมาเป็นของรัฐแล้ว “ราคาพลังงานจะถูกลง” ซึ่งข้อมูลตรงนี้ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างราคาพลังงานในประเทศมีสูตรการคิดราคาและอ้างอิงชัดเจน ไม่ว่า ปตท. จะอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ หรือจะกลับเป็นของรัฐ สูตรการคิดราคาหรือการอ้างอิงราคา ก็ยังคงเป็นสูตรเดิม การจัดเก็บภาษีและกองทุนฯ ก็ยังเหมือนเดิม จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่ จะทวงคืน ปตท กลับมาเป็นของรัฐ เพราะนอกจากการจะสร้างความเสียหายให้กับเศรษฐกิจในประเทศ เพิ่มความเสี่ยงในการลงทุนและบริหารงานแล้ว ก็ไม่ได้สร้างผลประโยชน์ให้กับรัฐหรือประชาชนได้คุ้มค่ากับสิ่งที่รัฐหรือประเทศจะต้องเสียไป http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/ประโยชน์การแปรรูป-ปตท/
  2. เปิดผลประเมิน442 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์“คุณธรรม/ความโปร่งใส”ITA ประจำปี 2560” เฉลี่ย 81.53คะแนน ปตท. เกินเกณฑ์เฉลี่ย วันนี้(16 พ.ย.)มีรายงานจากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ว่าป.ป.ช.ได้เผยแพร่ผลประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจำปีงบประมาณ 2560 จำนวนทั้งสิ้น 422 หน่วยงาน โดยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ(Integrity & Transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2560 อยู่ที่ 81.53 คะแนน ทั้งนี้จากผลการประเมิน พบว่า องค์กรศาล (เฉพาะหน่วยงานธุรการ) 3 หน่วยงาน พบว่า สำนักงานศาลยุติธรรมได้คะแนนสูงสุด 92.37 สำนักงานศาลปกครอง 88.29 และสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ 81.79 องค์กรอิสระ 5 หน่วยงาน พบว่า สำนักงานป.ป.ช.ได้คะแนนสูงสุด 90.44 และสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้คะแนนน้อยสุด 71.20,องค์กรอัยการ พบว่าสำนักงานอัยการสูงสุดได้คะแนน 78.98 ,หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา 2 หน่วยงานคือ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้คะแนนใกล้เคียงที่ 82.70 และ 82.94 ตามลำดับสำหรับสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้คะแนน 90.24 อ่านผลประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจำปีงบประมาณ 2560 จำนวนทั้งสิ้น 422 หน่วยงาน ฉบับเต็มประกาศผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity& Transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560(16/11/2560)
  3. จากที่เคยเล่าไว้ถึง สาเหตุของการแปรรูป ปตท และประโยชน์ที่ประเทศชาติได้รับ ซึ่งจะขอย้อนความ ถึงประโยชน์ที่ชาติจะได้รับจากการแปรรูป 3 ข้อหลัก คือ 1.เป็นการระดมทุนเพื่อไปแก้ไขปรับสถานการณ์การเงินบริษัทในเครือทั้งหลาย ของ ปตท. ซึ่งเป็นผลดีต่อรัฐ เพราะรัฐจะได้ปันผลเป็นรายได้ ในรูปแบบต่างๆ กลับเข้าสู่รัฐมากขึ้น 2.เป็นการระดมทุนเพื่อนำเงินไปซื้อโรงกลั่น ทำให้โรงกลั่นเป็นของคนไทย เงินทองไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ 3.เป็นการกระตุ้นตลาดหลักทรัพย์ ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนมากขึ้น โดยจะเห็นว่าการแปรรูปในครั้งนี้สร้างผลประโยชน์มากมายให้กับประเทศ ในรูปแบบของเม็ดเงินเข้ารัฐและเม็ดเงินลงทุน จากที่มีกระแสทวงคืน ปตท. ให้กลับมาเป็นของรัฐ ทั้งที่ตอนนี้ ปตท. กลายเป็นบริษัทมหาชนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศบ้าง 1.หากใช้วิธียึดคืน นั่นคือการทำลายความน่าเชื่อถือในการลงทุนของประเทศ ซึ่งมีผลโดยตรงกับนักลงทุนที่จะนำเงินมาลงทุนทั้งในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ ทำให้ประเทศชาติเสียเม็ดเงินจำนวนมหาศาลจากนักลงทุนและมีผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศ 2.หากใช้วิธีซื้อคืน รัฐต้องระดมทุนมหาศาลเพื่อซื้อหุ้นจำนวน 2.8 พันล้านหุ้น คิดมูลค่าหุ้นทั่วไป รัฐจะต้องใช้เงินประมาณ 1 ล้านล้านบาท (คิดมูลค่าต่อหุ้น 380 บาท) ในการซื้อหุ้นคืน เพื่อให้ ปตท. กลับเป็นของรัฐ นอกจากจะเป็นเรื่องยากและเกิดความเสียหายมากมายในการนำหุ้นกลับมาเป็นของรัฐแล้ว รัฐยังต้องลงแรงในการเข้ามาบริหารงานในส่วนนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอะไรการันตีเลยว่าการลงทุนมหาศาลอย่างนี้จะสร้างความคุ้มค่าให้กับรัฐ กลับกันจะเพิ่มความเสี่ยงในการบริหารอีกด้วย สิ่งหนึ่งที่กลุ่มทวงคืนพลังงานหรือ NGO มักนำมาเพื่อปลุกปั่นกระแสทวงคืนพลังงาน คือการที่พยายามบิดเบือนว่า หาก ปตท. กลับมาเป็นของรัฐแล้ว “ราคาพลังงานจะถูกลง” ซึ่งข้อมูลตรงนี้ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างราคาพลังงานในประเทศมีสูตรการคิดราคาและอ้างอิงชัดเจน ไม่ว่า ปตท. จะอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ หรือจะกลับเป็นของรัฐ สูตรการคิดราคาหรือการอ้างอิงราคา ก็ยังคงเป็นสูตรเดิม การจัดเก็บภาษีและกองทุนฯ ก็ยังเหมือนเดิม จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่ จะทวงคืน ปตท. กลับมาเป็นของรัฐ เพราะนอกจากการจะสร้างความเสียหายให้กับเศรษฐกิจในประเทศ เพิ่มความเสี่ยงในการลงทุนและบริหารงานแล้ว ก็ไม่ได้สร้างผลประโยชน์ให้กับรัฐหรือประชาชนได้คุ้มค่ากับสิ่งที่รัฐหรือประเทศจะต้องเสียไป
  4. จากที่เคยเล่าไว้ถึง สาเหตุของการแปรรูป และประโยชน์ที่ประเทศชาติได้รับ ซึ่งจะขอย้อนความ ถึงประโยชน์ที่ชาติจะได้รับจากการแปรรูป 3 ข้อหลัก คือ 1. เป็นการระดมทุนเพื่อไปแก้ไขปรับสถานการณ์การเงินบริษัทในเครือทั้งหลาย ของ ปตท. ซึ่งเป็นผลดีต่อรัฐ เพราะรัฐจะได้ปันผลเป็นรายได้ ในรูปแบบต่างๆ กลับเข้าสู่รัฐมากขึ้น 2. เป็นการระดมทุนเพื่อนำเงินไปซื้อโรงกลั่น ทำให้โรงกลั่นเป็นของคนไทย เงินทองไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ 3. เป็นการกระตุ้นตลาดหลักทรัพย์ ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนมากขึ้น โดยจะเห็นว่าการแปรรูปในครั้งนี้สร้างผลประโยชน์มากมายให้กับประเทศ ในรูปแบบของเม็ดเงินเข้ารัฐและเม็ดเงินลงทุน จากที่มีกระแสทวงคืน ปตท.ให้กลับมาเป็นของรัฐ ทั้งที่ตอนนี้ ปตท. กลายเป็นบริษัทมหาชนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศบ้าง 1. หากใช้วิธียึดคืน นั่นคือการทำลายความน่าเชื่อถือในการลงทุนของประเทศ ซึ่งมีผลโดยตรงกับนักลงทุนที่จะนำเงินมาลงทุนทั้งในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ ทำให้ประเทศชาติเสียเม็ดเงินจำนวนมหาศาลจากนักลงทุนและมีผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศ 2. หากใช้วิธีซื้อคืน รัฐต้องระดมทุนมหาศาลเพื่อซื้อหุ้นจำนวน 2.8 พันล้านหุ้น คิดมูลค่าหุ้นทั่วไป รัฐจะต้องใช้เงินประมาณ 1 ล้านล้านบาท (คิดมูลค่าต่อหุ้น 380 บาท) ในการซื้อหุ้นคืน เพื่อให้ ปตท. กลับเป็นของรัฐ นอกจากจะเป็นเรื่องยากและเกิดความเสียหายมากมายในการนำหุ้นกลับมาเป็นของรัฐแล้ว รัฐยังต้องลงแรงในการเข้ามาบริหารงานในส่วนนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอะไรการันตีเลยว่าการลงทุนมหาศาลอย่างนี้จะสร้างความคุ้มค่าให้กับรัฐ กลับกันจะเพิ่มความเสี่ยงในการบริหารอีกด้วย ติดตามอ่านต่อได้ที่http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/tag/ทวงคืน-ปตท/
  5. มีคนเข้าใจผิดและด่ากันเยอะเรื่องการปรับราคาน้ำมัน ว่าทำไมตอนปรับขึ้นมันปรับขึ้นเยอะกว่าตอนปรับลง บ้างก็ว่า ขึ้น50ลง30 ขึ้น60ลง40 … แต่ในความเป็นจริงแล้ว การขึ้นลงราคาที่ต่างกัน ผู้บริโภคอย่างเราได้ประโยชน์อย่างไรมาดูกัน!!! ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก https://m.facebook.com/fellowshipoftheenergy/posts/1815080521892460
  6. มีความเข้าใจผิดในเรื่องนี้ออกมาอยู่เนืองๆ ในกรณีที่ผู้บริโภคบางกลุ่ม มองว่าราคาน้ำมันเมืองไทยแพงเกินไป และ ปตท. เป็นต้นเหตุของราคา เพราะปตท. เป็นผู้กำหนดราคาน้ำมันในประเทศ ตรงนี้จะขอนำส่วนหนึ่งของคำแถลงที่ทาง ผู้บริหารของ ปตท. ได้ตั้งโต๊ะแถลง หลังจากมีประเด็นร้อนว่อนในโลกโซเชียลในด้านลบกับ บริษัท ปตท. ทั้งในเรื่องการกำหนดราคาน้ำมันที่เอาเปรียบประชาชน จนได้กำไรสูงเป็นแสนล้านบาท พร้อมชักชวนบอยคอตเติมน้ำมันที่ปั๊มของ ปตท. “นายเทวินทร์ กล่าวว่า ปี 2560 ราคาน้ำมันทั้งปีเฉลี่ยเป็นขาขึ้น โดย ปตท. มีการปรับขึ้น 21 ครั้ง ปรับลง 21 ครั้ง แต่ราคาหน้าปั๊มขายต่ำกว่าต่างชาติ 20 วัน ไม่เคยขายแพงกว่ารายอื่นเลย แม้แต่ช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ตั้งแต่ 6 เม.ย. – 28 พ.ค. 2561 ปตท.ปรับขึ้นราคาน้ำมัน 6 ครั้ง ปรับลง 1 ครั้ง โดยไม่เคยมีช่วงเวลาที่ขายแพงกว่าเจ้าอื่น แต่มีช่วง 9 วันในช่วง 50 วันที่ขายถูกกว่าปั๊มอื่น” การที่มีช่วงเวลาที่ ปตท. ขายถูกกว่าปั๊มอื่น และไม่มีช่วงเวลาไหนเลยที่ ปตท. จะขายแพงกว่าปั๊มอื่น นั่นเป็นหลักฐานชัดเจนว่า ปตท. ไม่ได้เป็นผู้กำหนดราคาน้ำมันในประเทศ แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาขายได้อย่างเสรี ผ่านค่าการตลาด (ส่วนราคา ณ โรงกลั่นใช้ราคาอ้างอิงตลาดสิงคโปร์ ในขณะที่ภาษีและกองทุนต่างๆ รัฐบาลเป็นคนกำหนด) แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดค่าการตลาด เท่าไหร่ก็ได้ จะเก็บค่าการตลาดลิตรละ 100 บาท หรือลิตรละแค่ 10 สตางค์ก็สามารถทำได้ตามหลัก รัฐเพียงแค่มีการเสนอตัวเลขค่าการตลาดที่เหมาะสมเอาไว้ (แต่ไม่ได้บังคับให้ทำตาม) ซึ่งอย่าลืมว่าค่าการตลาด ยังไม่ได้หักส่วนค่าใช้จ่ายภายในปั๊มทั้งหมดจะเป็นค่าขนส่งน้ำมัน ค่าจ้างเด็กปั๊ม ค่าน้ำมันค่าไฟ ฯลฯ ดังนั้นหากค่าการตลาดต่ำเกินไป ปั๊มก็จะขาดทุนและต้องปิดตัวลง จากที่กล่าวมาจะเห็นว่า แต่ละปั๊ม แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาได้เองอย่างเสรี เพียงแค่จ่ายภาษีและกองทุนต่างๆ ตามที่รัฐกำหนดเท่านั้น ซึ่งไม่ได้มีแบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งที่สามารถกำหนดราคาขายของทั้งตลาดได้ อย่างที่เข้าใจผิดกัน
  7. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า หุ้น ปตท ทักษิณเป็นเจ้าของ และไม่น่าเชื่อว่า ข้อมูลเบสิคๆแบบนี้ ที่ฟังพวกแกนนำที่พูดบนขึ้นเวทีม๊อบ หรือพวกแกนนำนักทวงคืนอย่างผู้สูงวัยท่านหนึ่ง นั้นกลับไม่คิดจะค้นหาข้อมูลด้วยตัวเองและก็เชื่อในทันทีด้วยในอคติว่า ทักษิณ หรือ ตระกูลชินวัตร เป็นเจ้าของ ปตท. และ ปตท.คือต้นเหตุทำให้น้ำมันแพง และที่น่าแปลกอีกอย่างหนึ่ง ถ้าพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพรรคที่ทักษิณสนับสนุนได้เป็นรัฐบาล กระแสทวงคืน ปตท.นั้นเงียบเป็นเป่าสากไม่มีใครพูดถึง ดังนั้นทีมงานก็เลยไปค้นข้อมูลข้อเท็จจริงว่า ปตท. เป็นของใคร ใครกันแน่คือเจ้าของ ปตท. ที่แท้จริง แล้วเราจะทวงคืนทำไม ทวงคืนให้ใคร? เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุกๆคนอยู่แล้ว แล้วที่เหลือล่ะ เป็นนักลงทุนคนไทยรายย่อย 16% จากการตรวจสอบสมุดบัญชีผู้ถือหุ้นของ ปตท. ก็พบว่า คนในตระกูลชินวัตรจริงๆได้แก่ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร และนายพอพงษ์ ชินวัตร ถือหุ้นเพียง 7,700 หุ้น จาก 2.85 พันล้านหุ้น หรือ 0.0002% เท่านั้น ถือว่าน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญที่จะไปครอบงำเพื่อกำหนดนโยบายหรือทิศทาง อะไรได้เลยใน ปตท. เป็นการลงทุนตามปกติที่ใครๆก็เข้าไปซื้อได้ในตลาดหลักทรัพย์ [ธนาคาร JPMorgan Chase & Co.] ธนาคาร JPMorgan Chase & Co. แล้วส่วนที่เป็นของนักลงทุนต่างชาติ 18% ล่ะ จะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นสถาบันการเงินและกองทุนนอมินี บ้างก็บอกว่ากองทุนนอมินีเหล่านี้เป็นของทักษิณทั้งหมด ยกตัวอย่าง CHASE NOMINEE LIMITED ผู้ถือหุ้นลำดับที่ 5 จำนวน 2.53% นั้น เจ้าของกองทุนนี้คือ JP Morgan Chase & Co. (iv) หรือ JPM ซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกา ถือหุ้นใหญ๋โดยสถาบันการเงินของต่างประเทศหลายต่อหลายแห่ง JPM มูลค่าสินทรัพย์ทั้งสิ้น 2.4 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ หรือ 72 ล้านล้านบาท !!!! นี่มันเป็นตัวเลขงบประมาณของประเทศไทยได้ถีงเกือบ 30 ปีเลยทีเดียว แค่ตัวอย่างนี้ตัวอย่างเดียวเท่านั้น ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าทักษิณเป็นเจ้าของนอมินีทุกๆแห่ง ก็แสดงว่า ทักษิณแทบจะซื้อทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ได้อย่างแน่นอน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เรื่องดังกล่าวนี้ไม่มีมูลความจริงใดๆทั้งสิ้นa กล่าว โดยสรุป เจ้าของ ปตท.ทีแท้จริงก็คือ กระทรวงการคลัง เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ที่เป็นของคนไทยทุกคนอยู่แล้ว และนักลงทุนรายย่อยทั้งไทยและเทศ ที่คนไทยทุกๆคนสามารถจะมีหุ้นได้โดยสามารถซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้ทุกวันทำการ ก็ไม่รู้จะทวงคืนไปทำไม ทวงไปก็ไม่ได้น้ำมันถูกลง เพราะที่มันแพงก็แค่น้ำมันกลุ่มเบนซินที่เก็บภาษีและกองทุนน้ำมันเพิ่มขึ้น มามากทำให้ราคาแพง และเงินกองทุนน้ำมันก็เอาไปจ่ายชดเชยให้ก๊าซหุงต้มที่นำเข้ามาจากตลาดโลกมา ขายในประเทศถูกๆและพวกแก๊สโซฮอล E20, E85 รวมถึงชดเชยภาษีในส่วนของน้ำมันดีเซลที่คนไทยส่วนใหญ่ใช้มากกว่า 50% เพื่อควบคุมราคาไม่ให้เกิน 30 บาทต่อลิตร ที่จะส่งผลต่อค่าขนส่งสินค้าจนกระทบกับค่าครองชีพของคนไทยทุกคน ทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายของภาครัฐ ไม่เกี่ยวกับ ปตท. ซึ่งไม่ว่ารัฐบาลไหนเข้ามาก็ลดราคาน้ำมันกลุ่มเบนซิน แก๊สโซฮอล E10 มากไม่ได้เพราะจะทำให้กองทุนน้ำมันติดลบ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่นๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด Cr. http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เปิดหลักฐานปตทเป็นของใ/
  8. จากที่เคยเล่าไว้ถึง สาเหตุของการแปรรูป และประโยชน์ที่ประเทศชาติได้รับ ซึ่งจะขอย้อนความ ถึงประโยชน์ที่ชาติจะได้รับจากการแปรรูป 3 ข้อหลัก คือ 1. เป็นการระดมทุนเพื่อไปแก้ไขปรับสถานการณ์การเงินบริษัทในเครือทั้งหลาย ของ ปตท. ซึ่งเป็นผลดีต่อรัฐ เพราะรัฐจะได้ปันผลเป็นรายได้ ในรูปแบบต่างๆ กลับเข้าสู่รัฐมากขึ้น 1. เป็นการระดมทุนเพื่อนำเงินไปซื้อโรงกลั่น ทำให้โรงกลั่นเป็นของคนไทย เงินทองไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ 2. เป็นการกระตุ้นตลาดหลักทรัพย์ ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนมากขึ้น โดยจะเห็นว่าการแปรรูปในครั้งนี้สร้างผลประโยชน์มากมายให้กับประเทศ ในรูปแบบของเม็ดเงินเข้ารัฐและเม็ดเงินลงทุน จากที่มีกระแสทวงคืน ปตท. ให้กลับมาเป็นของรัฐ ทั้งที่ตอนนี้ ปตท. กลายเป็นบริษัทมหาชนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศบ้าง 1. หากใช้วิธียึดคืน นั่นคือการทำลายความน่าเชื่อถือในการลงทุนของประเทศ ซึ่งมีผลโดยตรงกับนักลงทุนที่จะนำเงินมาลงทุนทั้งในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ ทำให้ประเทศชาติเสียเม็ดเงินจำนวนมหาศาลจากนักลงทุนและมีผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศ 2. หากใช้วิธีซื้อคืน รัฐต้องระดมทุนมหาศาลเพื่อซื้อหุ้นจำนวน 2.8 พันล้านหุ้น คิดมูลค่าหุ้นทั่วไป รัฐจะต้องใช้เงินประมาณ 1 ล้านล้านบาท (คิดมูลค่าต่อหุ้น 380 บาท) ในการซื้อหุ้นคืน เพื่อให้ ปตท. กลับเป็นของรัฐ นอกจากจะเป็นเรื่องยากและเกิดความเสียหายมากมายในการนำหุ้นกลับมาเป็นของรัฐแล้ว รัฐยังต้องลงแรงในการเข้ามาบริหารงานในส่วนนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอะไรการันตีเลยว่าการลงทุนมหาศาลอย่างนี้จะสร้างความคุ้มค่าให้กับรัฐ กลับกันจะเพิ่มความเสี่ยงในการบริหารอีกด้วย สิ่งหนึ่งที่กลุ่มทวงคืนพลังงานหรือ NGO มักนำมาเพื่อปลุกปั่นกระแสทวงคืนพลังงาน คือการที่พยายามบิดเบือนว่า หาก ปตท. กลับมาเป็นของรัฐแล้ว “ราคาพลังงานจะถูกลง” ซึ่งข้อมูลตรงนี้ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างราคาพลังงานในประเทศมีสูตรการคิดราคาและอ้างอิงชัดเจน ไม่ว่า ปตท. จะอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ หรือจะกลับเป็นของรัฐ สูตรการคิดราคาหรือการอ้างอิงราคา ก็ยังคงเป็นสูตรเดิม การจัดเก็บภาษีและกองทุนฯ ก็ยังเหมือนเดิม จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่ จะทวงคืน ปตท. กลับมาเป็นของรัฐ เพราะนอกจากการจะสร้างความเสียหายให้กับเศรษฐกิจในประเทศ เพิ่มความเสี่ยงในการลงทุนและบริหารงานแล้ว ก็ไม่ได้สร้างผลประโยชน์ให้กับรัฐหรือประชาชนได้คุ้มค่ากับสิ่งที่รัฐหรือประเทศจะต้องเสียไป
  9. เท่าที่ดูรายละเอียดเว็บไซต์ของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ การจ่ายเงินเป็นการจ่ายค่าคอมมิสชันให้กับตัวแทนของโรลส์-รอยซ์ ซึ่งจำเป็นต้องใช้เงินตัวนั้น เพื่อจ่ายให้กับพนักงานหรือผู้บริหารของปตท. ฉะนั้นโรลส์-รอยซ์ไม่มีการจ่ายเงินตรงมาที่ปตท. ดังนั้น การดำเนินงานเป็นเรื่องของตัวบุคคลที่ต้องแยกออกจากองค์กร ซึ่งอ่านแล้วไม่แน่ใจว่าผู้บริหารหรือพนักงานของโรลส์-รอยซ์ ที่จ่ายไปให้กับตัวแทนหรือคนกลาง? (อ้างอิงจาก เว็บไซต์ ฐานเศรษฐกิจ) จากคำสัมภาษณ์จะเห็นว่าจำนวนเงินที่มีการอ้างว่ารับสินบนนั้น ถูกส่งมอบให้แก่ ?บุคคลซึ่งอาจจะเป็นพนักงานหรือผู้บริหาร? ในสมัยนั้น และไม่มีการถูกจ่ายตรงให้กับ ปตท. อันนี้จึงกลายเป็นเรื่องของบุคคลที่มีการคอรัปชั่น ไม่ใช่องค์กร และ ปตท.ยังถือเป็นผู้เสียหายจากการกระทำดังกล่าวด้วย ทำไม ปตท. ถึงเป็นผู้เสียหาย? ?อันนี้ขอยกตัวอย่างง่ายๆ ว่า มีพนักงานในบริษัทหนึ่ง รับเงินสินบนเพื่อหลีกสเปคของหนึ่งชิ้น เพื่อซื้อของเข้าบริษัท ถามว่าเรื่องนี้ใครเป็นคนผิด ระหว่างบริษัทหรือพนักงานที่รับสินบน? จากตัวอย่างนี้จะเห็นชัดเจนว่า การที่กลุ่มที่เคลื่อนไหวเพื่อหวังผลทางการเมือง จะพยายามโจมตีองค์กรนั้น น่าจะเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงให้เกิดการเข้าใจผิดเสียมากกว่า ส่วนกรณีที่มีคำถามว่าทำไมถึงให้คนในองค์กร ปตท. เองเป็นผู้สอบส่วน ตรงนี้คุณเทวินทร์ มีความเห็นว่า ยังไม่ได้บอกว่าใครเป็นผู้ต้องสงสัยอะไร แต่ต้องรู้ก่อนว่าใครมีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง ซึ่งการตั้งกรรมการสอบสวนก็ต้องมั่นใจว่าคนที่จะมาเป็นประธานและกรรมการไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อจัดจ้างในยุคที่เกิดขึ้น มีทั้งผู้ที่เข้าใจกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ที่เข้าใจเทคนิคการก่อสร้าง ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการตรวจสอบ และผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมาย แต่ขอไม่เปิดเผยว่าประธานคือใคร แต่เป็นคนภายในองค์กร เพราะต้องการให้เขามีความสบายใจในการทำงาน?
  10. หากท่านผู้อ่านได้เคยอ่านรายงานประจำปี ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ อย่างหนึ่งที่ต้องมีคือ การตรวจสอบเอกสาร รับรองทรัพย์สินและค่าใช้จ่ายต่างๆ และในกรณีของบริษัทที่เป็นรัฐวิสาหกิจด้วยแล้ว รายงานประจำปี ย่อมมีความเข้มงวดในการตรวจสอบจาก หน่วยงานต่างๆ กลับมาที่เรื่อง การคืนท่อส่งก๊าซ ที่เป็นคดีกันอยู่ขณะนี้ระหว่าง ปตท. กับ คตง. ที่ได้มีการออกสื่อไปต่างๆ ซึ่งขัดกับการระบุลงไปในรายงานประจำปี ของ ปตท. โดยสิ้นเชิง ดังนั้นน่าจะต้องกลับมาตั้งข้อสังเกตุที่เป็นหน่วยงานที่ทำการตรวจสอบบัญชีว่า มีจุดประสงค์ใดกันแน่ 1. สตง. ขาดความรู้ความเข้าใจในหลักการแปลงสภาพรัฐวิสาหกิจ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จากที่ให้ความเห็นเรื่องท่อในทะเลถือเป็นสาธารณะสมบัติ เป็นการตีความโดยไม่เป็นไปตามคำสั่งศาลและการพิจารณาของ ครม. หรือไม่? 2. สตง. บกพร่องในหน้าที่ เนื่องจากได้รับข้อมูลแบ่งแยกทรัพย์สินจาก ปตท. ตั้งแต่เดือนม.ค. 2551 แต่ดำเนินการล่าช้า โดยให้ความเห็นไม่ทันกำหนดเวลาที่ต้องรายงานศาลในเดือน ธ.ค. 51 หรือไม่? 3. สตง. ปกปิดความบกพร่องของตนเอง กล่าวร้ายผู้อื่น ขาดจริยธรรมและจรรยาบรรณของการปฏิบัติหน้าที่หน่วยงานตรวจสอบของรัฐ โดยกล่าวหา ปตท. ว่าให้ข้อมูลไม่ครบต่อศาล ทั้งที่เป็นผู้ให้ข้อมูลล่าช้าเอง และยังปกปิดข้อเท็จจริงที่ศาลมีความเห็นยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรกลับไปที่ผู้ว่า สตง. หรือไม่? 4. สตง. ไม่รักษาจุดยืน ขาดดุลยพินิจในความเหมาะสมของการปฏิบัติหน้าที่ โดยเคยมีหนังสือยอมรับคำตัดสินศาลเป็นที่สิ้นสุด แต่ยังมีความเห็นขัดแย้งตลอดมา สร้างปัญหาให้กับข้าราชการ และรัฐวิสาหกิจที่เป็นบริษัทมหาชน ในการปฏิบัติราชการ และสร้างความสับสนให้กับสังคม และความเสียหายกับเศรษฐกิจ หรือไม่? 5. สตง. กระทำความผิดร้ายแรง ไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ผู้รับสอบบัญชี ไม่เหมาะสมที่จะทำหน้าที่ผู้รับสอบบัญชีให้บริษัทมหาชนต่อไป เพราะในฐานะผู้รับสอบบัญชีของ ปตท. ที่ได้รับแต่งตั้งโดยผู้ถือหุ้น เมื่อมีความเห็นว่าท่อในทะเลเป็นทรัพย์สินที่จะต้องคืนให้รัฐ แต่กลับรับรองงบดุลต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2552 โดยไม่บันทึกความเห็นใดๆ ประกอบงบ กระทบต่อความมั่นใจของนักลงทุนไทยและต่างชาติในตลาดหลักทรัพย์ สร้างความสับสนและเสียหายต่อผู้ถือหุ้นและบริษัทจดทะเบียน หรือไม่? 6. สตง. ขาดสำนึกในเรื่องการดำเนินการโดยมีผลประโยชน์ทับซ้อน ในกรณีการตรวจสอบทรัพย์สินของ บมจ.ปตท. จากการแปลงสภาพการปิโตรเลียมฯ เนื่องจากบทบาทผู้ตรวจสอบที่ต้องรับผิดชอบต่อรัฐ และผู้รับสอบบัญชีที่ต้องรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น มีประโยชน์ขัดแย้งกัน ควรที่จะต้องประกาศต่อผู้ถือหุ้น และไม่รับเป็นผู้รับสอบบัญชีให้ ปตท. ตั้งแต่ปี 2552 หรือไม่? 7. สตง. ใช้อำนาจโดยมิชอบ สร้างความเสื่อมเสียชื่อเสียงให้รัฐบาลและเจ้าหน้าที่รัฐ โดยกล่าวหาว่าละเลย ไม่ปฏิบัติหน้าที่ ทั้งที่ครม.มีมติมอบหมายการปฏิบัติตามคำสั่งศาลอย่างเป็นทางการ และผู้รับมอบหมายได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วน หรือไม่? 8. ผู้ว่า สตง. กระทำการเกินอำนาจหน้าที่ ผิดมารยาทและจรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบ โดยให้สัมภาษณ์สื่อสาธารณะและให้ข้อมูลบุคคลภายนอกเกี่ยวกับผลการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ก่อนที่ คตง.จะเห็นชอบอย่างเป็นทางการ หรือไม่? และหากเป็นเช่นนี้ การที่ให้ข้อมูลเรื่องการพิจารณานำคืนท่อก๊าซในส่วนเส้นที่ไม่ได้ใช้อำนาจมหาชนในการรอนสิทธิคืนนั้น อาจจะยังส่งผลให้ต้องตีความเรื่องอื่นๆ ของ สตง. เกี่ยวกับทรัพย์สินที่เป็นสาธารณะสมบัติซึ่งต้องคืนให้รัฐ จะมีผลลูกโซ่ถึงรัฐวิสาหกิจที่แปลงสภาพเป็น บมจ. อื่นๆ ตามมาอีกหรือไม่? หมายเหตุ เอกสารรายงานผู้สอบบัญชีโดย สตง. ในรายงานประจำปีของ ปตท. ตั้งแต่ปี 2550 – 2558 จะเห็นว่าตั้งแต่ปี 2550 – 2551 มีการระบุเรื่องการดำเนินการตามคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด แต่หลังจากนั้นก็ไม่ได้มีปรากฏรายละเอียดเรื่องดังกล่าวแต่อย่างใด ที่มาจาก http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/ข้อสงสัย-สตง-รายงาน-ปตท/
  11. วันนี้(16 พ.ย.) มีรายงานจากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ว่า ป.ป.ช. ได้เผยแพร่ผลประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจำปีงบประมาณ 2560 จำนวนทั้งสิ้น 422 หน่วยงาน โดยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 อยู่ที่ 81.53 คะแนน ทั้งนี้จากผลการประเมิน พบว่า องค์กรศาล (เฉพาะหน่วยงานธุรการ) 3 หน่วยงาน พบว่า สำนักงานศาลยุติธรรมได้คะแนนสูงสุด 92.37 สำนักงานศาลปกครอง 88.29 และสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ 81.79 องค์กรอิสระ 5 หน่วยงาน พบว่า สำนักงาน ป.ป.ช.ได้คะแนนสูงสุด 90.44 และสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ได้คะแนนน้อยสุด 71.20, องค์กรอัยการ พบว่า สำนักงานอัยการสูงสุดได้คะแนน 78.98 ,หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา 2 หน่วยงานคือ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้คะแนนใกล้เคียงที่ 82.70 และ 82.94 ตามลำดับ สำหรับสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้คะแนน 90.24 อ่านผลประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจำปีงบประมาณ 2560 จำนวนทั้งสิ้น 422 หน่วยงาน ฉบับเต็ม ประกาศผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (16/11/2560) ขอบคุณข้อมูลจาก http://samtahantoptt.blogspot.com/2017/11/PTT-ita-2560.html
  12. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า “ทักษิณ” เป็นเจ้าของ ปตท. เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ ทีนี้เราต้องมาเจาะดูว่า (ปตท. เป็นของใคร) หุ้น ปตท. ทักษิณเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ปตท. นั้นหาง่ายมากๆได้จากเว็บไซด์ settrade.com ได้ผู้ถือหุ้นใหญ่ดังภาพนี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุกๆคนอยู่แล้ว อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่นๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด
  13. มีความเข้าใจผิดในเรื่องนี้ออกมาอยู่เนืองๆ ในกรณีที่ผู้บริโภคบางกลุ่ม มองว่าราคาน้ำมันเมืองไทยแพงเกินไป และ ปตท. เป็นต้นเหตุของราคา เพราะปตท. เป็นผู้กำหนดราคาขายน้ำมันในประเทศ ตรงนี้จะขอนำส่วนหนึ่งของคำแถลงที่ทาง ผู้บริหารของ ปตท. ได้ตั้งโต๊ะแถลง หลังจากมีประเด็นร้อนว่อนในโลกโซเชียลในด้านลบกับ บริษัท ปตท. ทั้งในเรื่องการกำหนดราคาน้ำมันที่เอาเปรียบประชาชน จนได้กำไรสูงเป็นแสนล้านบาท พร้อมชักชวนบอยคอตเติมน้ำมันที่ปั๊มของ ปตท. “นายเทวินทร์ กล่าวว่า ปี 2560 ราคาน้ำมันทั้งปีเฉลี่ยเป็นขาขึ้น โดย ปตท. มีการปรับขึ้น 21 ครั้ง ปรับลง 21 ครั้ง แต่ราคาหน้าปั๊มขายต่ำกว่าต่างชาติ 20 วัน ไม่เคยขายแพงกว่ารายอื่นเลย แม้แต่ช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ตั้งแต่ 6 เม.ย. – 28 พ.ค. 2561 ปตท.ปรับขึ้นราคาน้ำมัน 6 ครั้ง ปรับลง 1 ครั้ง โดยไม่เคยมีช่วงเวลาที่ขายแพงกว่าเจ้าอื่น แต่มีช่วง 9 วันในช่วง 50 วันที่ขายถูกกว่าปั๊มอื่น” การที่มีช่วงเวลาที่ ปตท. ขายถูกกว่าปั๊มอื่น และไม่มีช่วงเวลาไหนเลยที่ ปตท. จะขายแพงกว่าปั๊มอื่น นั่นเป็นหลักฐานชัดเจนว่า ปตท. ไม่ได้เป็นผู้กำหนดราคาน้ำมันในประเทศ แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาขายได้อย่างเสรี ผ่านค่าการตลาด (ส่วนราคา ณ โรงกลั่นใช้ราคาอ้างอิงตลาดสิงคโปร์ ในขณะที่ภาษีและกองทุนต่างๆ รัฐบาลเป็นคนกำหนด) แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดค่าการตลาด เท่าไหร่ก็ได้ จะเก็บค่าการตลาดลิตรละ 100 บาท หรือลิตรละแค่ 10 สตางค์ก็สามารถทำได้ตามหลัก รัฐเพียงแค่มีการเสนอตัวเลขค่าการตลาดที่เหมาะสมเอาไว้ (แต่ไม่ได้บังคับให้ทำตาม) ซึ่งอย่าลืมว่าค่าการตลาด ยังไม่ได้หักส่วนค่าใช้จ่ายภายในปั๊มทั้งหมดจะเป็นค่าขนส่งน้ำมัน ค่าจ้างเด็กปั๊ม ค่าน้ำมันค่าไฟ ฯลฯ ดังนั้นหากค่าการตลาดต่ำเกินไป ปั๊มก็จะขาดทุนและต้องปิดตัวลง จากที่กล่าวมาจะเห็นว่า แต่ละปั๊ม แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาได้เองอย่างเสรี เพียงแค่จ่ายภาษีและกองทุนต่างๆ ตามที่รัฐกำหนดเท่านั้น ซึ่งไม่ได้มีแบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งที่สามารถกำหนดราคาขายของทั้งตลาดได้ อย่างที่เข้าใจผิดกัน
  14. ผมพบว่า นอมินี-Nominee มี 2 ความหมาย ตีความง่ายๆ ภาษาบ้านๆของผมคือ (ถ้าผมตีความผิดอะไร ขาดตกตรงไหน รบกวนผู้รู้ช่วยแนะนำด้วยครับ) 1. ผู้ได้รับเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล ผู้ที่เป็นตัวแทนของกลุ่มในการลงแข่งขัน/เลือกตั้ง 2. กลุ่มบุคคลหรือบริษัทที่จดทะเบียนเพื่อทำธุรกรรม เช่น นำเงินไปลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น แทนบุคคลอื่นๆ ซึ่งไอ้ Mindset ไม่ดีของผมในอดีตนั้นก็คือต่อความหมายที่ 2 นั่นเอง เพราะผมมักจะได้ยินเสมอๆว่าไอ้เจ้า นอมินี-Nominee ต่างๆเหล่านี้ล่ะคือตัวแทนของนักการเมืองต่างๆ (โดยเฉพาะระบอบทักษิณ อะไรนั่น) ผมขอยกหนึ่งในองค์กรที่โจมตีและเชื่อมโยงเข้ากับระบอบทักษิณมากที่สุดองค์กรหนึ่งคือ ปตท ทั้งๆที่ผมเข้าไปดูในรายชื่อผู้ถือหุ้นของ ปตท ก็ไม่เห็นว่ามีรายชื่อไหนที่บอกว่าเป็นของตระกูลชินวัตรเลย ตามรูป ซึ่งเขาก็บอกกันว่า ก็เพราะตระกูลชินวัตรถือหุ้นผ่าน นอมินี-Nominee ไง ดังนั้นผมจึงตั้งคำถามต่อไปว่า แล้ว นอมินี-Nominee ทั้งหลายที่ถือหุ้น ปตท อยู่นี้ เขาไปถือหุ้นในบริษัทอื่นๆบ้างไหม เอาล่ะครับ เราลองมารวมจำนวนหุ้นที่เหล่า นอมินี-Nominee เหล่านี้ถืออยู่ในบริษัทต่างๆกันดูนะครับ ว่าบริษัทไหนมีมากน้อยเพียงไร ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก https://pantip.com/topic/31713941
  15. กรณีสินบนโรลส์-รอยซ์ที่เกิดขึ้น กลายเป็นประเด็นสังคมที่ถูกพูดถึงมากทั้งตามหน้าข่าวและโลกโซเชียล พร้อมทั้งเกิดคำถามว่าใครเป็นคนผิดในกรณีนี้!!! สินบนโรลส์-รอยซ์ สร้างกระแสไปที่การบินไทยและปตท รูปจาก : sanook.com จากการพยายามเล่นกระแสของกลุ่มคนที่หวังผลทางการเมือง และการพาดหัวข่าวจึงไม่น่าแปลกใจที่หลายคนที่ติดตามเรื่องราวดังกล่าวจะชี้เป้าไปที่องค์กรอย่างการบินไทยและปตท. เป็นหลัก โดยเฉพาะกลุ่มแรกที่พยายามหยิบยกประเด็นถึงความเป็นธรรมาภิบาลของ ปตท. มาโจมตีว่าทำไมจึงเกิดการรับสินบนขององค์กรที่มีธรรมาภิบาลสูงแบบนี้ได้ อันนี้เลยจะขอยกคำสัมภาษณ์ของนายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)โดยสัมภาษณ์ผ่านรายการเฟซไทม์ ทางสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ เมื่อวันที่ 23 มกราคม ที่ผ่านมา มาให้อ่านกัน… “เท่าที่ดูรายละเอียดเว็บไซต์ของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ การจ่ายเงินเป็นการจ่ายค่าคอมมิสชันให้กับตัวแทนของโรลส์-รอยซ์ ซึ่งจำเป็นต้องใช้เงินตัวนั้น เพื่อจ่ายให้กับพนักงานหรือผู้บริหารของปตท. ฉะนั้นโรลส์-รอยซ์ไม่มีการจ่ายเงินตรงมาที่ปตท. ดังนั้น การดำเนินงานเป็นเรื่องของตัวบุคคลที่ต้องแยกออกจากองค์กร ซึ่งอ่านแล้วไม่แน่ใจว่าผู้บริหารหรือพนักงานของโรลส์-รอยซ์ ที่จ่ายไปให้กับตัวแทนหรือคนกลาง” … เว็บไซต์ ฐานเศรษฐกิจ จากคำสัมภาษณ์จะเห็นว่าจำนวนเงินที่มีการอ้างว่ารับสินบนนั้น ถูกส่งมอบให้แก่ “บุคคลซึ่งอาจจะเป็นพนักงานหรือผู้บริหาร” ในสมัยนั้น และไม่มีการถูกจ่ายตรงให้กับ ปตท. อันนี้จึงกลายเป็นเรื่องของบุคคลที่มีการคอรัปชั่น ไม่ใช่องค์กร และ ปตท.ยังถือเป็นผู้เสียหายจากการกระทำดังกล่าวด้วย ทำไม ปตท. ถึงเป็นผู้เสียหาย? …อันนี้ขอยกตัวอย่างง่ายๆ ว่า มีพนักงานในบริษัทหนึ่ง รับเงินสินบนเพื่อล็อกสเปคของหนึ่งชิ้น เพื่อซื้อของเข้าบริษัท ถามว่าเรื่องนี้ใครเป็นคนผิด ระหว่างบริษัทหรือพนักงานที่รับสินบน? …จากตัวอย่างนี้จะเห็นชัดเจนว่า การที่กลุ่มที่เคลื่อนไหวเพื่อหวังผลทางการเมือง จะพยายามโจมตีองค์กรนั้น น่าจะเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงให้เกิดการเข้าใจผิดเสียมากกว่า ส่วนกรณีที่มีคำถามว่าทำไมถึงให้คนในองค์กร ปตท. เองเป็นผู้สอบส่วน ตรงนี้คุณเทวินทร์ มีความเห็นว่า “ยังไม่ได้บอกว่าใครเป็นผู้ต้องสงสัยอะไร แต่ต้องรู้ก่อนว่าใครมีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง ซึ่งการตั้งกรรมการสอบสวนก็ต้องมั่นใจว่าคนที่จะมาเป็นประธานและกรรมการไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อจัดจ้างในยุคที่เกิดขึ้น มีทั้งผู้ที่เข้าใจกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ที่เข้าใจเทคนิคการก่อสร้าง ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการตรวจสอบ และผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมาย แต่ขอไม่เปิดเผยว่าประธานคือใคร แต่เป็นคนภายในองค์กร เพราะต้องการให้เขามีความสบายใจในการทำงาน” การที่ ปตท. ซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการรับสินบนจะเข้ามาสอบสวนเองคงจะไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร ทั้งยังมีการยืนยันจากปากคุณเทวินทร์เองว่าการตั้งคณะกรรมการซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างในยุคนั้น ก็คงจะหมดข้อสงสัยถึงการจัดการประเด็นการรับสินบนนี้ได้ในระดับหนึ่ง
×
×
  • สร้างใหม่...