ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'ทวงคืน ปตท'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

ปฏิทิน

  • ปฎิทินชุมชน

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 4 รายการ

  1. มหากาพย์ ทวงคืน ปตท ผมหรือใคร ที่ให้ข้อมูลเรื่องท่อก๊าซคลาดเคลื่อน? ที่นางสาวรสนา โตสิตระกูลโพสต์ในเฟสบุ๊คตั้งคำถามว่าบทความเรื่องท่อก๊าซของผม “มีข้อเท็จจริงที่น่าจะคลาดเคลื่อน หรือไม่” ผมขอยืนยันต่อสาธารณชนว่าสิ่งที่ผมเขียนเป็นไปตามข้อเท็จจริงครับ 1- “ปตท.” เป็นชื่อย่อของทั้ง การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ก่อนแปรรูปและหลังแปรรูป ที่ปัจจุบันชื่อเต็มว่า บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) 2- แต่ที่ น.ส.รสนาบอกว่า ปัจจุบันรัฐถือหุ้นใน ปตท.เพียง 51% นั้น คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เพราะนอกจากที่กระทรวงการคลังถือหุ้นตรง 51% แล้ว ยังมีอีก 12% ที่ถือโดยกองทุนวายุภักษ์*ของกระทรวงการคลัง (ณ วันที่ 12 ต.ค.2561) รวมเป็น 63% ถ้ารวมที่กองทุนประกันสังคม.ถือด้วยก็จะเป็น 65% ดูเพิ่มเติมด้านล่าง . 3- ที่ น.ส.รสนากล่าวว่าแนวทางของรัฐบาลชวนฯ ในปี 2542 กำหนดให้ระบบท่อก๊าซที่แยกออกมาก่อนเข้าตลาดหลักทรัพย์เป็นบริษัทที่การปิโตรเลียมถือหุ้น 100% แต่เมื่อแปรรูปจริงในปี 2544 ที่กำหนดให้แยกท่อฯ ภายใน 1 ปีให้หลังเข้าตลาดฯ จึงมีผลทำให้ทรัพย์สินที่ควรจะตกเป็นของรัฐ 100% ตกเป็นชอง ปตท.ซึ่งรัฐถือหุ้นเพียงไม่ถึง 100% นั้น เป็นความเข้าใจผิดจากข้อเท็จจริง ซึ่งตรวจสอบได้ไม่ยากจากการสรุปสาระสำคัญในมติ กพช.วันที่ 15 สิงหาคม 2557 เรื่องที่ 2 ข้อที่ 1 ความว่า ____ “....คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2543 รับทราบแนวทางการแปรรูปของ ปตท. ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ โดย ในส่วนของกิจการระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติจะแยกออกมาจัดตั้งเป็นบริษัท ปตท. ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ จำกัด ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2542 โดยมี บมจ. ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 100...” อ่านฉบับเต็มที่ http://www.eppo.go.th/…/th/eppo-intra…/item/1263-nepc-ncpo1… . 4- การแยกท่อก๊าซ “ก่อน” เข้าตลาดหลักทรัพย์ กับ “หลัง” เข้าตลาดฯ 1 ปีนั้น ไม่ได้ทำให้มูลค่าหุ้น ปตท.แตกต่างกัน เพราะอย่างที่ผมอธิบายด้วยมติ กพช.ข้างต้น บริษัทที่เป็นเจ้าของท่อนั้นจะเป็นของ บจม.ปตท.100% ไม่ว่าแยกระบบท่อก๊าซก่อนหรือหลังการเข้าตลาดฯ (ดูแผนภูมิในcomment ประกอบ) ___แต่ถ้าผมมีอำนาจเต็มที่ซึ่งผมไม่มี ผมจะแยกท่อให้เป็นที่เรียบร้อยก่อนเข้าตลาดฯ รวมทั้งออก พรบ.การประกอบกิจการพลังงานเพื่อดึงอำนาจรัฐทั้งหมดออกมาจาก ปตท. และเปิดบริการผ่านท่อให้บุคคลที่ 3 เข้ามาแข่งขันกับ ปตท.ได้ (TPA) ด้วย ___ผมจบคณิตศาสตร์แค่ปริญญาตรี ไม่ใช่ปริญญาเอกอย่างที่กล่าว แต่ตรรกะนี้ผมว่าคนจบคณิตศาสตร์ประถม 4 ก็น่าจะพอเข้าใจได้ . 5- ที่ผมถามว่า 1 ปีหลังการเข้าตลาดฯ (ธันวาคม 2544) แล้วรัฐบาลไม่ดำเนินการแยกท่อก๊าซนั้น “ฝ่ายทวงคืน ปตท.” อยู่ที่ไหน ทำไมไม่โวยวาย น.ส.รสนาตอบว่าก็ตนได้ยื่นฟ้องเพิกถอนการแปรรูป ปตท.กับมูลนิธิเพื่อผู้บริโภคในเมื่อสิงหาคม 2549 ไงเล่า ___ผมไม่ลืมครับ แต่เป็นการตอบที่ไม่ตรงคำถาม เด็กป.4 ก็คิดเลขได้ว่า 2544 + 1 = 2545 แล้วมาลบจาก 2549 จะได้คำตอบว่า 4 ปี เด็ก ป.7 อาจจะคิดเดือนด้วย ก็จะได้ 3 ปี 8 เดือน ไม่ว่าตัวเลขไหนก็ถือว่านานนะครับ ___แล้วถ้าคิดจากปีที่ ปตท.เข้าตลาดหลักทรัพย์ 2544 ก็ยิ่งนานเข้าไปอีก แล้วเหล่าพลเมืองเสียงดังที่อ้างว่าปกป้องผลประโยชน์ชาติตอนนั้นมัวทำอะไรอยู่? ปล่อยให้สิ่งที่เขาเรียกว่า “ขายชาติ” เกิดขึ้นต่อหน้าต่อตา โดยไม่ด่าทอ ไม่ต่อต้านคัดค้าน ไม่แม้แต่ท้วงติง ผมถึงต้องตั้งข้อสันนิษฐานว่าพวกเขาในตอนนั้นยังชื่นชมหรือได้ประโยชน์จากทักษิณ จึงมิได้ตำหนิติเตียนแต่ประการใด มหากาพย์ ทวงคืน ปตท ยังไม่จบ สามารถติดตามอ่านเพิ่มเติมได้ที่ลิ้งค์ด้านล่างเลยครับ ขอขอบคุณข้อมูลจาก https://www.facebook.com/fellowshipoftheenergy/posts/2030711713662672?__tn__=-R http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/tag/ทวงคืน-ปตท/
  2. จากที่เคยเล่าไว้ถึง สาเหตุของการแปรรูป และประโยชน์ที่ประเทศชาติได้รับ ซึ่งจะขอย้อนความ ถึงประโยชน์ที่ชาติจะได้รับจากการแปรรูป 3 ข้อหลัก คือ 1.เป็นการระดมทุนเพื่อไปแก้ไขปรับสถานการณ์การเงินบริษัทในเครือทั้งหลาย ของ ปตท. ซึ่งเป็นผลดีต่อรัฐ เพราะรัฐจะได้ปันผลเป็นรายได้ ในรูปแบบต่างๆ กลับเข้าสู่รัฐมากขึ้น 2เป็นการระดมทุนเพื่อนำเงินไปซื้อโรงกลั่น ทำให้โรงกลั่นเป็นของคนไทย เงินทองไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ 3.เป็นการกระตุ้นตลาดหลักทรัพย์ ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนมากขึ้น โดยจะเห็นว่าการแปรรูปในครั้งนี้สร้างผลประโยชน์มากมายให้กับประเทศ ในรูปแบบของเม็ดเงินเข้ารัฐและเม็ดเงินลงทุน จากที่มีกระแสทวงคืน ปตท ให้กลับมาเป็นของรัฐ ทั้งที่ตอนนี้ ปตท. กลายเป็นบริษัทมหาชนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศบ้าง 1.หากใช้วิธียึดคืน นั่นคือการทำลายความน่าเชื่อถือในการลงทุนของประเทศ ซึ่งมีผลโดยตรงกับนักลงทุนที่จะนำเงินมาลงทุนทั้งในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ ทำให้ประเทศชาติเสียเม็ดเงินจำนวนมหาศาลจากนักลงทุนและมีผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศ 2.หากใช้วิธีซื้อคืน รัฐต้องระดมทุนมหาศาลเพื่อซื้อหุ้นจำนวน 2.8 พันล้านหุ้น คิดมูลค่าหุ้นทั่วไป รัฐจะต้องใช้เงินประมาณ 1 ล้านล้านบาท (คิดมูลค่าต่อหุ้น 380 บาท) ในการซื้อหุ้นคืน เพื่อให้ ปตท. กลับเป็นของรัฐ นอกจากจะเป็นเรื่องยากและเกิดความเสียหายมากมายในการนำหุ้นกลับมาเป็นของรัฐแล้ว รัฐยังต้องลงแรงในการเข้ามาบริหารงานในส่วนนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอะไรการันตีเลยว่าการลงทุนมหาศาลอย่างนี้จะสร้างความคุ้มค่าให้กับรัฐ กลับกันจะเพิ่มความเสี่ยงในการบริหารอีกด้วย สิ่งหนึ่งที่กลุ่มทวงคืนพลังงานหรือ NGO มักนำมาเพื่อปลุกปั่นกระแสทวงคืนพลังงาน คือการที่พยายามบิดเบือนว่า หาก ปตท. กลับมาเป็นของรัฐแล้ว “ราคาพลังงานจะถูกลง” ซึ่งข้อมูลตรงนี้ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างราคาพลังงานในประเทศมีสูตรการคิดราคาและอ้างอิงชัดเจน ไม่ว่า ปตท. จะอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ หรือจะกลับเป็นของรัฐ สูตรการคิดราคาหรือการอ้างอิงราคา ก็ยังคงเป็นสูตรเดิม การจัดเก็บภาษีและกองทุนฯ ก็ยังเหมือนเดิม จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่ จะทวงคืน ปตท กลับมาเป็นของรัฐ เพราะนอกจากการจะสร้างความเสียหายให้กับเศรษฐกิจในประเทศ เพิ่มความเสี่ยงในการลงทุนและบริหารงานแล้ว ก็ไม่ได้สร้างผลประโยชน์ให้กับรัฐหรือประชาชนได้คุ้มค่ากับสิ่งที่รัฐหรือประเทศจะต้องเสียไป http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/ประโยชน์การแปรรูป-ปตท/
  3. จากที่เคยเล่าไว้ถึง สาเหตุของการแปรรูป และประโยชน์ที่ประเทศชาติได้รับ ซึ่งจะขอย้อนความ ถึงประโยชน์ที่ชาติจะได้รับจากการแปรรูป 3 ข้อหลัก คือ 1. เป็นการระดมทุนเพื่อไปแก้ไขปรับสถานการณ์การเงินบริษัทในเครือทั้งหลาย ของ ปตท. ซึ่งเป็นผลดีต่อรัฐ เพราะรัฐจะได้ปันผลเป็นรายได้ ในรูปแบบต่างๆ กลับเข้าสู่รัฐมากขึ้น 1. เป็นการระดมทุนเพื่อนำเงินไปซื้อโรงกลั่น ทำให้โรงกลั่นเป็นของคนไทย เงินทองไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ 2. เป็นการกระตุ้นตลาดหลักทรัพย์ ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนมากขึ้น โดยจะเห็นว่าการแปรรูปในครั้งนี้สร้างผลประโยชน์มากมายให้กับประเทศ ในรูปแบบของเม็ดเงินเข้ารัฐและเม็ดเงินลงทุน จากที่มีกระแสทวงคืน ปตท. ให้กลับมาเป็นของรัฐ ทั้งที่ตอนนี้ ปตท. กลายเป็นบริษัทมหาชนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศบ้าง 1. หากใช้วิธียึดคืน นั่นคือการทำลายความน่าเชื่อถือในการลงทุนของประเทศ ซึ่งมีผลโดยตรงกับนักลงทุนที่จะนำเงินมาลงทุนทั้งในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ ทำให้ประเทศชาติเสียเม็ดเงินจำนวนมหาศาลจากนักลงทุนและมีผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศ 2. หากใช้วิธีซื้อคืน รัฐต้องระดมทุนมหาศาลเพื่อซื้อหุ้นจำนวน 2.8 พันล้านหุ้น คิดมูลค่าหุ้นทั่วไป รัฐจะต้องใช้เงินประมาณ 1 ล้านล้านบาท (คิดมูลค่าต่อหุ้น 380 บาท) ในการซื้อหุ้นคืน เพื่อให้ ปตท. กลับเป็นของรัฐ นอกจากจะเป็นเรื่องยากและเกิดความเสียหายมากมายในการนำหุ้นกลับมาเป็นของรัฐแล้ว รัฐยังต้องลงแรงในการเข้ามาบริหารงานในส่วนนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอะไรการันตีเลยว่าการลงทุนมหาศาลอย่างนี้จะสร้างความคุ้มค่าให้กับรัฐ กลับกันจะเพิ่มความเสี่ยงในการบริหารอีกด้วย สิ่งหนึ่งที่กลุ่มทวงคืนพลังงานหรือ NGO มักนำมาเพื่อปลุกปั่นกระแสทวงคืนพลังงาน คือการที่พยายามบิดเบือนว่า หาก ปตท. กลับมาเป็นของรัฐแล้ว “ราคาพลังงานจะถูกลง” ซึ่งข้อมูลตรงนี้ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างราคาพลังงานในประเทศมีสูตรการคิดราคาและอ้างอิงชัดเจน ไม่ว่า ปตท. จะอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ หรือจะกลับเป็นของรัฐ สูตรการคิดราคาหรือการอ้างอิงราคา ก็ยังคงเป็นสูตรเดิม การจัดเก็บภาษีและกองทุนฯ ก็ยังเหมือนเดิม จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่ จะทวงคืน ปตท. กลับมาเป็นของรัฐ เพราะนอกจากการจะสร้างความเสียหายให้กับเศรษฐกิจในประเทศ เพิ่มความเสี่ยงในการลงทุนและบริหารงานแล้ว ก็ไม่ได้สร้างผลประโยชน์ให้กับรัฐหรือประชาชนได้คุ้มค่ากับสิ่งที่รัฐหรือประเทศจะต้องเสียไป
  4. จากที่เคยเล่าไว้ถึง สาเหตุของการแปรรูป และประโยชน์ที่ประเทศชาติได้รับ ซึ่งจะขอย้อนความ ถึงประโยชน์ที่ชาติจะได้รับจากการแปรรูป 3 ข้อหลัก คือ 1.เป็นการระดมทุนเพื่อไปแก้ไขปรับสถานการณ์การเงินบริษัทในเครือทั้งหลาย ของ ปตท. ซึ่งเป็นผลดีต่อรัฐ เพราะรัฐจะได้ปันผลเป็นรายได้ ในรูปแบบต่างๆ กลับเข้าสู่รัฐมากขึ้น หลัง ปตท. แปรรูป ปตท. นำเงินส่งรัฐสูงสุดอย่างต่อเนื่อง 2.เป็นการระดมทุนเพื่อนำเงินไปซื้อโรงกลั่น ทำให้โรงกลั่นเป็นของคนไทย เงินทองไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ 3.เป็นการกระตุ้นตลาดหลักทรัพย์ ดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนมากขึ้น โดยจะเห็นว่าการแปรรูปในครั้งนี้สร้างผลประโยชน์มากมายให้กับประเทศ ในรูปแบบของเม็ดเงินเข้ารัฐและเม็ดเงินลงทุน จากที่มีกระแสทวงคืน ปตท ให้กลับมาเป็นของรัฐ ทั้งที่ตอนนี้ ปตท. กลายเป็นบริษัทมหาชนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศบ้าง 1.หากใช้วิธียึดคืน นั่นคือการทำลายความน่าเชื่อถือในการลงทุนของประเทศ ซึ่งมีผลโดยตรงกับนักลงทุนที่จะนำเงินมาลงทุนทั้งในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ ทำให้ประเทศชาติเสียเม็ดเงินจำนวนมหาศาลจากนักลงทุนและมีผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศ 2.หากใช้วิธีซื้อคืน รัฐต้องระดมทุนมหาศาลเพื่อซื้อหุ้นจำนวน 2.8 พันล้านหุ้น คิดมูลค่าหุ้นทั่วไป รัฐจะต้องใช้เงินประมาณ 1 ล้านล้านบาท (คิดมูลค่าต่อหุ้น 380 บาท) ในการซื้อหุ้นคืน เพื่อให้ ปตท. กลับเป็นของรัฐ นอกจากจะเป็นเรื่องยากและเกิดความเสียหายมากมายในการนำหุ้นกลับมาเป็นของรัฐแล้ว รัฐยังต้องลงแรงในการเข้ามาบริหารงานในส่วนนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอะไรการันตีเลยว่าการลงทุนมหาศาลอย่างนี้จะสร้างความคุ้มค่าให้กับรัฐ กลับกันจะเพิ่มความเสี่ยงในการบริหารอีกด้วย สิ่งหนึ่งที่กลุ่มทวงคืนพลังงานหรือ NGO มักนำมาเพื่อปลุกปั่นกระแสทวงคืนพลังงาน คือการที่พยายามบิดเบือนว่า หาก ปตท. กลับมาเป็นของรัฐแล้ว “ราคาพลังงานจะถูกลง” ซึ่งข้อมูลตรงนี้ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างราคาพลังงานในประเทศมีสูตรการคิดราคาและอ้างอิงชัดเจน ไม่ว่า ปตท. จะอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ หรือจะกลับเป็นของรัฐ สูตรการคิดราคาหรือการอ้างอิงราคา ก็ยังคงเป็นสูตรเดิม การจัดเก็บภาษีและกองทุนฯ ก็ยังเหมือนเดิม จึงไม่มีเหตุผลอะไรที่ จะทวงคืน ปตท กลับมาเป็นของรัฐ เพราะนอกจากการจะสร้างความเสียหายให้กับเศรษฐกิจในประเทศ เพิ่มความเสี่ยงในการลงทุนและบริหารงานแล้ว ก็ไม่ได้สร้างผลประโยชน์ให้กับรัฐหรือประชาชนได้คุ้มค่ากับสิ่งที่รัฐหรือประเทศจะต้องเสียไป Cr. http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/ประโยชน์การแปรรูป-ปตท/
×
×
  • สร้างใหม่...