ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'ผ่าตัดส่องกล้อง'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 8 รายการ

  1. การเล่นกีฬาจัดว่าเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายยอดนิยมของใครหลาย ๆ คน โดยเฉพาะ ฟุตบอล วอลเลย์บอล บาสเกตบอล และการวิ่งมาราธอนในระยะต่าง ๆ ซึ่งการเล่นกีฬาเหล่านี้ย่อมมาควบคู่กับอาการบาดเจ็บที่รุนแรง อย่างเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด แม้บางครั้งอาการที่รุนแรงที่ได้บาดเจ็บกลับหายเป็นปกติ จนหลายคนไม่คิดว่าจะมีอันตราย แต่จริง ๆ แล้วอาการไม่ได้หายไปไหน เมื่อกลับไปเล่นกีฬาหรือใช้งาน ความรุนแรงกลับเพิ่มมากขึ้น หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี ช่วงแรกที่ได้รับบาดเจ็บ เข่าจะมีอาการบวม, ปวด, ลงน้ำหนักเดินไม่ไหว หลังจากนั้นอาการปวดบวมจะค่อย ๆ ลดลง จนกลับมาเดินลงน้ำหนักได้ แต่จะพบว่ามีอาการเข่าหลวม เนื่องจากเส้นเอ็นฉีกขาด ทำให้ไม่สามารถกลับไปเล่นกีฬาได้ดังเดิม หากต้องการรักษาอาการบาดเจ็บให้หายเป็นปกติ ทางศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน มีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาอาการบาดเจ็บ โดยการผ่าตัดซ่อมสร้างเส้นเอ็นด้วยวิธีผ่าตัดส่องกล้อง ซึ่งหลังจากผ่าเข่าแล้วได้ผลดีคนไข้สามารถกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งแนวทางการรักษาด้วยวิธีผ่าตัดส่องกล้องมีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้ค่ะ รู้จัก...เอ็นไขว้หน้าหัวเข่า เอ็นไขว้หน้าหัวเข่า หรือ Anterior Cruciate Ligament (ACL) คือเส้นเอ็นขนาดใหญ่เส้นหนึ่งที่อยู่ภายในเข่า โดยจะเกาะอยู่ระหว่างปลายกระดูกต้นขา (Femur Bone) และต้นกระดูกหน้าแข้ง (Tibia Bone) หน้าที่หลักๆ ของเอ็นเส้นนี้ คือเสริมความมั่นคงให้แก่ข้อเข่า ควบคุมการเคลื่อนไหวของหัวเข่าและหน้าแข้ง ให้เคลื่อนไหวได้มากน้อยและในมุมต่าง ๆ ป้องกันไม่ให้เราเหยียดเข่าเกินองศา (Hyperextension) จนทำอันตรายต่อกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลังและผิวข้อเข่า ถือว่าเป็นเส้นเอ็นที่มีความสำคัญต่อข้อเข่ามาก เพราะหากเส้นเอ็นนี้บาดเจ็บหรือฉีกขาดอย่างถาวร จะทำให้ข้อเข่าขาดความมั่นคงอย่างหนัก ขณะที่ผู้ป่วยเดินจะรู้สึกเข่าหลวม ปวดภายในเข่า และทำให้เข่าเสื่อมตามมาได้เร็วขึ้น เอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดเกิดจากอะไร อาการเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาดมักพบได้บ่อย โดยเฉพาะสาเหตุจากการเล่นกีฬาและเกิดจากการบิดหมุนของหัวเข่าที่รุนแรง ทำให้เส้นเอ็นเกิดการบาดเจ็บหรือฉีกขาดได้ ซึ่งมักเกิดขึ้นได้ตลอดเวลากับการเล่นกีฬาทุกประเภท โดยเฉพาะกีฬาที่ต้องมีการปะทะ เช่น นักฟุตบอล นักวอลเลย์บอล นักบาสเกตบอล หรืออาจเกิดจากกิจกรรมอื่นทั่วไป เช่น ตกบันได อุบัติเหตุ แม้แต่เดินสะดุดก็อาจทำให้เอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาดได้เช่นกัน อาการเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดเป็นอย่างไร - รู้สึกมีอะไรดีดอยู่ข้างในขา - หัวเข่าใช้งานไม่ได้ในขณะที่ได้รับบาดเจ็บ - หัวเข่าบวมปูดทันทีหรือภายในไม่กี่ชั่วโมง - มีอาการเจ็บปวดรุนแรงจนไม่สามารถทำกิจกรรมอื่นได้ โดยบางรายหลังจากเอ็นหัวเข่าฉีกขาด อาการปวด บวม อักเสบบริเวณหัวเข่าจะค่อยๆ ดีขึ้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถเดินได้ด้วยตนเอง โดยไม่รู้สึกผิดปกติ แต่เมื่อกลับไปเล่นกีฬาหรือใช้งานอีก จะรู้สึกว่าเข่าไม่มั่นคงและจะทำให้มีความเสี่ยงในการเกิดหมอนรองข้อฉีกขาด ส่งผลให้เกิดอาการงอเข่าไม่ลง ปวดบริเวณข้อ ตามมา การรักษาเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มีภาวะเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาด จะยังสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้เป็นปกติ แต่อาจจะเกิดภาวะข้อเข่าเคลื่อน ในกิจกรรมที่ต้องมีการบิดหมุนของหัวเข่า และที่สำคัญผู้ที่มีภาวะเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาดเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดการบาดเจ็บต่อหมอนรองเข่าและกระดูกอ่อนหัวเข่า ซึ่งจะทำให้เกิดภาวะข้อเข่าเสื่อมก่อนวัยอันสมควร ซึ่งการรักษาแบ่งเป็น 2 แบบ คือ - รักษาโดยการไม่ผ่าตัด เหมาะกับผู้สูงอายุที่ไม่ต้องการทำกิจกรรมที่ใช้หัวเข่ามากนัก และสามารถปรับพฤติกรรมตนเองให้เหมาะกับเข่าที่ไม่สามารถบิดหมุนรุนแรง - รักษาโดยการผ่าตัด เหมาะสำหรับผู้ป่วยอายุน้อย และต้องการกลับไปใช้ชีวิตประจำวันและกีฬาในระดับใกล้เคียงกับก่อนการบาดเจ็บ การผ่าตัดส่องกล้องรักษาเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด การรักษาเส้นเอ็นเอ็นไขว้หน้าหัวเข่า ทำได้โดยการผ่าตัดซ่อมสร้างเส้นเอ็นด้วยวิธีส่องกล้อง (Arthroscopic Surgery) โดยนำเส้นเอ็นจากบริเวณอื่นมาทดแทน โดยทั่วไปจะใช้เอ็นจากสะบ้าเข่าหรือเอ็นบริเวณรอบ ๆ มาใช้ การผ่าตัดส่องกล้องมีข้อดี คือผ่าตัดเจาะรูเล็กเพื่อใส่อุปกรณ์ และกล้องสำหรับส่องเข้าไปในข้อ แสดงภาพที่จอคอมพิวเตอร์ช่วยให้แพทย์สามารถมองเห็นรายละเอียดได้อย่างชัดเจน คนไข้จะมีอาการบาดเจ็บหลังการผ่าตัดน้อยกว่า ใช้เวลาพักฟื้นสั้น และมีโอกาสในการติดเชื้อที่ต่ำกว่า ซึ่งคนไข้จะสามารถกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติได้รวดเร็วกว่า ผ่าตัดเอ็นไขว้หน้าแล้วจะสามารถกลับไปเล่นกีฬาได้เมื่อไหร่ โดยทั่วไปหลังการผ่าตัดเอ็นไขว้หน้า ประมาณ 1 เดือนผู้ป่วยจะใช้ไม้เท้าและสนับเข่า 3 เดือนหลังผ่าตัด จะเดินเร็วได้ และ 6-9 เดือนหลังผ่าตัด แพทย์จะให้ทำกายภาพบำบัดที่เหมาะสมกับกีฬาแต่ละแบบ และประมาณ 1 ปีหลังการผ่าตัด ผู้ป่วยจะสามารถกลับไปเล่นกีฬาได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละรายด้วย ทั้งนี้ผู้ป่วยที่มีเส้นเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัด ควบคู่การทำกายภาพบำบัดเป็นเวลาอย่างน้อย 6 เดือน ซึ่งเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าขาดนั้น หากไม่รีบรักษาจะส่งผลให้เข่าเสื่อมก่อนวัยได้ หากคุณเป็นนักกีฬาหรือมีผู้ใกล้ชิดที่กำลังมีปัญหาเกี่ยวกับอาการเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด ต้องการติดต่อสอบถามเพิ่มเติม ทางศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงก์ด้านล่างได้เลยค่ะ : https://www.nakornthon.com/article/detail/เอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดจากการเล่นกีฬารักษาได้ด้วยผ่าตัดส่องกล้อง
  2. อาการปวดหลังมีหลายแบบสังเกตด่วน !!! คุณกำลังมีอาการแบบนี้อยู่หรือไม่? ปวดหลัง ปวดบริเวณเอว เป็น ๆ หาย ๆ เดินได้ไม่ไกล มีอาการปวดชาลงไปถึงขาเหมือนเป็นตะคริวร่วมด้วย บางครั้งต้องหยุดพักก่อนแล้วจึงจะเดินต่อไปได้ บางทีมีอาการปวดหลังร้าวลงขารุนแรง อาจเป็นสัญญาณเสี่ยงหมอนรองกระดูกทับเส้นได้ แล้วจะรักษาอย่างไรดี? วันนี้เรามีความรู้ดี ๆ ที่เป็นประโยชน์กับคุณอย่างมาก จากทางโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ มาฝากกันค่ะ หมอนรองกระดูกสันหลัง กดทับเส้นประสาท กระดูกสันหลัง จะมีหมอนรองกระดูก และข้อต่อกระดูกสันหลังคอยเชื่อมต่อกับกระดูกหลายชิ้น โดยที่ตัวกระดูกสันหลังทำหน้าที่ปกป้องไขสันหลัง ส่วนหมอนรองกระดูกจะทำหน้าที่ให้กระดูกสันหลังยืดหยุ่นและสามารถรับแรงกระแทกของน้ำหนักตัวจากการเคลื่อนไหวได้ ดังนั้นการใช้งานหนักในชีวิตประจำวัน หรืออายุที่เพิ่มขึ้น ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพได้ หมอนรองกระดูก ที่พบว่ามีปัญหาบ่อยที่สุดก็คือ หมอนรองกระดูกสันหลังในระดับเอวข้อที่ 4-5 เนื่องจากเป็นข้อต่อระดับที่มีการเคลื่อนไหว และรับน้ำหนักมากในร่างกาย ซึ่งเมื่อหมอนรองกระดูกมีสภาพเสื่อม ความสูงของหมอนรองกระดูกจะมีขนาดลดลง และมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อหมอนรองกระดูก ทำให้แกนหมอนรองกระดูกหลุดรอดมาภายนอก และกดทับเส้นประสาทไขสันหลังได้ อาการของ โรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท • ปวดหลัง สะโพกและปวดร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างรุนแรง ซึ่งจะมีอาการปวดมากขึ้นเวลาไอ หรือจาม • กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อสะโพกและขาบางรายมีอาการชาปลายเท้าร่วมด้วย หากอาการรุนแรงมากจะไม่สามารถกระดกปลายเท้า หรือเดินได้ • ปลายเท้าชา โดยเฉพาะบริเวณง่ามนิ้วหัวแม่เท้า • ระบบขับถ่ายผิดปกติ ในกรณีที่มีอาการรุนแรงมาก จะมีความผิดปกติของระบบขับถ่ายร่วมด้วย เช่น ไม่สามารถควบคุมการอุจจาระ หรือ ปัสสาวะได้ ซึ่งจำเป็นต้องผ่าตัดรักษาอย่างเร่งด่วน เพื่อป้องกันระบบขับถ่าย ไม่สามารถฟื้นคืนได้ตามปกติ การรักษา โรคหมอนรองกระดูกสันทับเส้นประสาท 1. รักษาโดยการลดน้ำหนัก พร้อมทั้งหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดอาการหนักขึ้น • การยกของหนัก • การนั่งรถยนต์เป็นเวลานาน • หลีกเลี่ยงอาการท้องผูกหรือเบ่ง ถ่ายอุจจาระแรงเกินไป เป็นต้น เนื่องจากจะทำให้เกิดแรงดัน ในหมอนรองกระดูกสูง ซึ่งเป็นสาเหตุให้หมอนรองกระดูกทนแรงดันไม่ได้ ทำให้เกิดการแตกของหมอนรองกระดูกตามมา 2. ยาต้านการอักเสบ NSAIDS และ ยาคลายกล้ามเนื้อ 3. ใช้กายภาพบำบัดและใช้เสื้อพยุงหลัง เพื่อช่วยในการลดอาการปวด และทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับไป ใช้ชีวิตประจำวัน ได้ปกติเร็วขึ้น และทำให้หน้าท้องกระชับขึ้น เพื่อที่จะจะช่วยลดแรงดันในหมอนรองกระดูกสันหลังได้ นอกจากกนี้ยังต้องลดเคลื่อนไหวของ กระดูกสันหลัง ก็จะทำให้อาการปวดลดลง เช่นกัน 4. การผ่าตัด แพทย์จะพิจารณาตามเกณฑ์ดังนี้ • ผู้ป่วยที่มีอาการปวดมากจนทนไม่ได้ แม้จะรักษาโดยรับประทานยา พักและกายภาพบำบัดเต็มที่แล้วก็ยังไม่เป็นปกติ • มีอาการชา อ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อขาลีบอย่างเห็นได้ชัด • มีปัญหาระบบขับถ่ายผิดปกติ ที่เกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาท เช่น กลั้นอุจจาระหรือปัสสาวะไม่ได้ การผ่าตัดส่องกล้องส่องขยาย (Microscopic Spine Surgery) การผ่าตัดหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทโดยทั่วไป ศัลยแพทย์กระดูกจะใช้เครื่องมือในการตัดกระดูก และเอ็นพังผืดเพื่อขยายโพรงประสาทคลายการกดรัดเส้นประสาท โดยในระหว่างทำการผ่าตัดบางตำแหน่งของโพรงประสาท อาจมีขนาดที่ตีบแคบมาก ทำให้มองเห็นเส้นประสาทได้ไม่ชัดเจนและมีข้อจำกัด ซึ่งการสอดใส่เครื่องมือผ่าตัดอาจเป็นอันตรายต่อเส้นประสาทได้ ซึ่งการผ่าหมอนรองกระดูกสันหลังโดยการส่องกล้องขยายนั้น จะสามารถลดขนาดแผลผ่าตัดให้เล็กลงได้ และที่กล้องขยายจะมาช่วยให้ศัลยแพทย์สามารถ ที่จะมองเห็นรายละเอียดในการผ่าตัดได้อย่างชัดเจนอีกด้วย ข้อดีของการผ่าตัดผ่านกล้อง 1. ช่วยลดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อและอวัยวะภายใน ทำให้มีความเจ็บปวดน้อย และลดการเสียเลือด 2. ขนาดของแผลนั้นเล็กเพียง 1-2 ซม. ซึ่งเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดจะทำให้มีแผลกว้างถึง 12-20 ซม. ดังนั้น การผ่าตัดแบบ MIS จะช่วยลดขนาดของแผลเป็นที่จะเกิดขึ้นจากการผ่าตัดแบบเปิด 3. พักฟื้นที่โรงพยาบาลเพียง 1-2 วัน ซึ่งในบางกรณีอาจจะกลับบ้านได้ทันทีหลังการผ่าตัด นับว่าเร็วกว่าการผ่าตัดแบบเปิด ที่ต้องเสียเวลาพักฟื้นนานเป็นสัปดาห์ 4. ช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน และโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ถือว่าปลอดภัยกว่าการผ่าตัดแบบเปิด 5. ช่วยลดการเกิดพังผืดจากการผ่าตัดแบบเปิด 6. ทำให้แพทย์มองเห็นรายละเอียดของตำแหน่งที่ต้องการผ่าตัดได้อย่างชัดเจน ด้วยเทคโนโลยีกำลังขยายของกล้อง ซึ่งช่วยให้ผ่าตัดได้ตรงจุดจึงลดการกระทบต่ออวัยวะอื่น ๆ ข้อจำกัดของการผ่าตัดส่องกล้อง • มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์ที่มีนวัตกรรมพิเศษ • ยังไม่สามารถใช้วิธีนี้กับผู้ป่วยในบางราย ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโรคปอดและหัวใจขั้นรุนแรง และผู้ที่เคยผ่าตัด หรือมีพังผืดจำนวนมาก วิธีการเตรียมตัว ก่อน-หลังการผ่าตัด ก่อนการผ่าตัดส่องกล้อง • เตรียมร่างกายให้พร้อม รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งนอนหลับให้เพียงพอ • งดน้ำงดอาหาร อย่างน้อย 6 ชั่วโมง • แจ้งประวัติประจำตัว การแพ้ยา ให้แจ้งแพทย์เมื่อมีอาการป่วยก่อนการผ่าตัด • งดสูบบุหรี่ และแอลกอฮอล์ • กรณีผ่าตัดลำไส้ แพทย์จะทำการล้างลำไส้ โดยจะให้ยากระตุ้นการขับถ่ายออกมาให้หมด • ถอดเครื่องประดับเอาไว้ในที่ปลอดภัย เช่น แหวน สร้อยคอ ต่างหู หรือเครื่องประดับจากการเจาะตามร่างกาย เพื่อป้องกันการเสียหายใน ระหว่างการผ่าตัด หลังการผ่าตัด • งดน้ำงดอาหาร ประมาณ 12-24 ชั่วโมง ตามแพทย์สั่ง • งดสูบบุหรี่ และแอลกอฮอล์ นับว่าการผ่าตัดด้วย Minimal Invasive Surgery นั้นจำเป็นต้องอาศัยแพทย์และทีมงานที่มีความชำนาญพิเศษ โดยทางโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ มีทีมแพทย์ที่ผ่านการศึกษาอบรมการผ่าตัดด้วยวิธี Minimal Invasive Surgery จากสถาบันการแพทย์ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งพร้อมให้การดูแลรักษาสุขภาพของท่านเป็นอย่างดี ซึ่งหากแพทย์ตรวจพบโรคแล้วจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัด ทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการ ขอมอบสิทธิ์พิเศษเสริมความปลอดภัยให้ทุกท่านที่จะเข้ารับการผ่าตัดทุกประเภท ให้ได้รับการ ตรวจโรค COVID-19 ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย พร้อมนวัตกรรมการผ่าตัดแบบส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery - MIS) มาช่วยย่นระยะเวลาการพักฟื้น และลดรอยแผล และความเจ็บปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทรักษาได้ หากคุณกำลังเผชิญปัญหาอาการปวดหลัง หรือภาวะเสี่ยงหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท แนะนำว่าให้รีบพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อดำเนินการรักษา อย่าปล่อยให้อาการเรื้อรังนาน คุณสามารถติดต่อขอคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจวินิจฉัยและวางแผนการรักษา กับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ ด้านกระดูกสันหลังโดยเฉพาะได้ สอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เบอร์โทร 02-363-2000 ขอบคุณข้อมูลจากโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ https://bit.ly/2XulRUr
  3. หากคุณหรือคนที่คุณรักกำลังมีอาการปวดคอ ปวดหลัง และอีกหลายอาการปวดตามร่างกาย ไม่ว่าจะเกิดจากการ นั่งทำงานต่อเนื่องยาวนานหรือการยกของหนักบ่อย ๆ อาจเป็นอาการปวดทั่ว ๆ ไปที่สามารถเกิดขึ้นได้ แต่ถ้าเมื่อไหร่มีอาการปวดคอ ปวดหลัง ร้าวลงแขน ขาหรือเท้า ร่วมกับอาการชาและกล้ามเนื้ออ่อนแรง นั่นอาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงโรคหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุและมีความรุนแรงหลายระดับ รวมถึงการแสดงอาการของโรคหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาทก็แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของข้อกระดูกสันหลังที่เป็น หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท กระดูกสันหลัง จะมีหมอนรองกระดูก และข้อต่อกระดูกสันหลังคอยเชื่อมต่อกับกระดูกหลายชิ้น โดยที่ตัวกระดูกสันหลังทำหน้าที่ปกป้องไขสันหลัง ส่วนหมอนรองกระดูกจะทำหน้าที่ให้กระดูกสันหลังยืดหยุ่นและสามารถรับแรงกระแทกของน้ำหนักตัวจากการเคลื่อนไหวได้ ดังนั้นการใช้งานหนักในชีวิตประจำวัน หรืออายุที่เพิ่มขึ้น ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพได้ หมอนรองกระดูก ที่พบว่ามีปัญหาบ่อยที่สุดก็คือ หมอนรองกระดูกสันหลังในระดับเอวข้อที่ 4-5 เนื่องจากเป็นข้อต่อระดับที่มีการเคลื่อนไหว และรับน้ำหนักมากในร่างกาย ซึ่งเมื่อหมอนรองกระดูกมีสภาพเสื่อม ความสูงของหมอนรองกระดูกจะมีขนาดลดลง และมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อหมอนรองกระดูก ทำให้แกนหมอนรองกระดูกหลุดรอดมาภายนอก และกดทับเส้นประสาทไขสันหลังได้ อาการของ โรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท - ปวดหลัง สะโพกและปวดร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างรุนแรง ซึ่งจะมีอาการปวดมากขึ้นเวลาไอ หรือจาม - กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อสะโพกและขาบางรายมีอาการชาปลายเท้าร่วมด้วย หากอาการรุนแรงมากจะไม่สามารถกระดกปลายเท้า หรือเดินได้ - ปลายเท้าชา โดยเฉพาะบริเวณง่ามนิ้วหัวแม่เท้า - ระบบขับถ่ายผิดปกติ ในกรณีที่มีอาการรุนแรงมาก จะมีความผิดปกติของระบบขับถ่ายร่วมด้วย เช่น ไม่สามารถควบคุมการอุจจาระ หรือ ปัสสาวะได้ ซึ่งจำเป็นต้องผ่าตัดรักษาอย่างเร่งด่วน เพื่อป้องกันระบบขับถ่าย ไม่สามารถฟื้นคืนได้ตามปกติ การรักษา โรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท 1.รักษาโดยการลดน้ำหนัก พร้อมทั้งหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดอาการหนักขึ้น - การยกของหนัก - การนั่งรถยนต์เป็นเวลานาน - หลีกเลี่ยงอาการท้องผูกหรือเบ่ง ถ่ายอุจจาระแรงเกินไป เป็นต้น เนื่องจากจะทำให้เกิดแรงดัน ในหมอนรองกระดูกสูง ซึ่งเป็นสาเหตุให้หมอนรองกระดูกทนแรงดันไม่ได้ ทำให้เกิดการแตกของหมอนรองกระดูกตามมา 2.ยาต้านการอักเสบ NSAIDS และ ยาคลายกล้ามเนื้อ 3.ใช้กายภาพบำบัดและใช้เสื้อพยุงหลัง เพื่อช่วยในการลดอาการปวด และทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับไป ใช้ชีวิตประจำวัน ได้ปกติเร็วขึ้น และทำให้หน้าท้องกระชับขึ้น เพื่อที่จะจะช่วยลดแรงดันในหมอนรองกระดูกสันหลังได้ นอกจากกนี้ยังต้องลดเคลื่อนไหวของ กระดูกสันหลัง ก็จะทำให้อาการปวดลดลง เช่นกัน 4.การผ่าตัด แพทย์จะพิจารณาตามเกณฑ์ดังนี้ - ผู้ป่วยที่มีอาการปวดมากจนทนไม่ได้ แม้จะรักษาโดยรับประทานยา พักและกายภาพบำบัดเต็มที่แล้วก็ยังไม่เป็นปกติ - มีอาการชา อ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อขาลีบอย่างเห็นได้ชัด - มีปัญหาระบบขับถ่ายผิดปกติ ที่เกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาท เช่น กลั้นอุจจาระหรือปัสสาวะไม่ได้ การผ่าตัดส่องกล้องส่องขยาย (Microscopic Spine Surgery) การผ่าตัดหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทโดยทั่วไป ศัลยแพทย์กระดูกจะใช้เครื่องมือในการตัดกระดูก และเอ็นพังผืดเพื่อขยายโพรงประสาทคลายการกดรัดเส้นประสาท โดยในระหว่างทำการผ่าตัดบางตำแหน่งของโพรงประสาท อาจมีขนาดที่ตีบแคบมาก ทำให้มองเห็นเส้นประสาทได้ไม่ชัดเจนและมีข้อจำกัด ซึ่งการสอดใส่เครื่องมือผ่าตัดอาจเป็นอันตรายต่อเส้นประสาทได้ ซึ่งการผ่าหมอนรองกระดูกสันหลังโดยการส่องกล้องขยายนั้น จะสามารถลดขนาดแผลผ่าตัดให้เล็กลงได้ และที่กล้องขยายจะมาช่วยให้ศัลยแพทย์สามารถ ที่จะมองเห็นรายละเอียดในการผ่าตัดได้อย่างชัดเจนอีกด้วย ข้อดีของการผ่าตัดผ่านกล้อง 1.ช่วยลดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อและอวัยวะภายใน ทำให้มีความเจ็บปวดน้อย และลดการเสียเลือด 2.ขนาดของแผลนั้นเล็กเพียง 1-2 ซม. ซึ่งเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดจะทำให้มีแผลกว้างถึง 12-20 ซม. ดังนั้น การผ่าตัดแบบ MIS จะช่วยลดขนาดของแผลเป็นที่จะเกิดขึ้นจากการผ่าตัดแบบเปิด 3.พักฟื้นที่โรงพยาบาลเพียง 1-2 วัน ซึ่งในบางกรณีอาจจะกลับบ้านได้ทันทีหลังการผ่าตัด นับว่าเร็วกว่าการผ่าตัดแบบเปิด ที่ต้องเสียเวลาพักฟื้นนานเป็นสัปดาห์ 4.ช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน และโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ถือว่าปลอดภัยกว่าการผ่าตัดแบบเปิด 5.ช่วยลดการเกิดพังผืดจากการผ่าตัดแบบเปิด 6.ทำให้แพทย์มองเห็นรายละเอียดของตำแหน่งที่ต้องการผ่าตัดได้อย่างชัดเจน ด้วยเทคโนโลยีกำลังขยายของกล้อง ซึ่งช่วยให้ผ่าตัดได้ตรงจุดจึงลดการกระทบต่ออวัยวะอื่น ๆ ข้อจำกัดของการผ่าตัดส่องกล้อง - มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์ที่มีนวัตกรรมพิเศษ - ยังไม่สามารถใช้วิธีนี้กับผู้ป่วยในบางราย ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโรคปอดและหัวใจขั้นรุนแรง และผู้ที่เคยผ่าตัด หรือมีพังผืดจำนวนมาก วิธีการเตรียมตัว ก่อน-หลังการผ่าตัด ก่อนการผ่าตัดส่องกล้อง - เตรียมร่างกายให้พร้อม รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งนอนหลับให้เพียงพอ - งดน้ำงดอาหาร อย่างน้อย 6 ชั่วโมง - แจ้งประวัติประจำตัว การแพ้ยา ให้แจ้งแพทย์เมื่อมีอาการป่วยก่อนการผ่าตัด - งดสูบบุหรี่ และแอลกอฮอล์ - กรณีผ่าตัดลำไส้ แพทย์จะทำการล้างลำไส้ โดยจะให้ยากระตุ้นการขับถ่ายออกมาให้หมด - ถอดเครื่องประดับเอาไว้ในที่ปลอดภัย เช่น แหวน สร้อยคอ ต่างหู หรือเครื่องประดับจากการเจาะตามร่างกาย เพื่อป้องกันการเสียหายใน ระหว่างการผ่าตัด หลังการผ่าตัดส่องกล้อง - งดน้ำงดอาหาร ประมาณ 12-24 ชั่วโมง ตามแพทย์สั่ง - งดสูบบุหรี่ และแอลกอฮอล์ นับว่าการผ่าตัดด้วย Minimal Invasive Surgery นั้นจำเป็นต้องอาศัยแพทย์และทีมงานที่มีความชำนาญพิเศษ โดยทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการ มีทีมแพทย์ที่ผ่านการศึกษาอบรมการผ่าตัดด้วยวิธี Minimal Invasive Surgery จากสถาบันการแพทย์ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งพร้อมให้การดูแลรักษาสุขภาพของท่านเป็นอย่างดี ซึ่งหากแพทย์ตรวจพบโรคแล้วจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัด ทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการ ขอมอบสิทธิ์พิเศษเสริมความปลอดภัยให้ทุกท่านที่จะเข้ารับการผ่าตัดทุกประเภท ให้ได้รับการ ตรวจโรค COVID-19 ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย พร้อมนวัตกรรมการผ่าตัดแบบส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery - MIS) มาช่วยย่นระยะเวลาการพักฟื้น และลดรอยแผล และความเจ็บปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทเป็นได้ ก็รักษาได้ หากท่านใดสงสัยว่าตนเองกำลังเป็นโรคนี้อยู่อย่าปล่อยให้ปวดทรมานไว้นาน เพราะมีผลกระทบอย่างมากในการใช้ชีวิตประจำวันของคุณ สามารถปรึกษาทางโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ เรามีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลังโดยตรงพร้อมให้คำปรึกษาแนะนำ สอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เบอร์โทร 02-363-2000 ขอบคุณข้อมูลจากโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ https://bit.ly/2XulRUr
  4. โรคกระดูกเสื่อมมักเกิดเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น และมีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดวิธี รวมถึงอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นก็มีส่วนทำให้กระดูกเกิดความผิดปกติได้ โดยส่วนมากพบว่าอาการผิดปกติ มีอาการเรื้อรัง โรคเกี่ยวกับกระดูกและข้อ พบมากในกลุ่มคนน้ำหนักตัวมาก และกลุ่มผู้สูงอายุ ด้วยความเสื่อมของแคลเซียมในร่างกายและการใช้งานข้อหรือกระดูกมายาวนาน เช่น โรคกระดูกพรุน โรคกระดูกเสื่อม ข้อไหล่ติด เป็นต้น เมื่อเกิดปัญหากระดูกและข้อ การได้รับคำปรึกษาที่ดี การตรวจวินิจฉัยและดูแลรักษาอย่างทันท่วงทีคือหัวใจที่สำคัญค่ะ ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน ให้การตรวจ วินิจฉัย ผ่าตัดรักษาโรคกระดูกและข้อ พร้อมคำแนะนำและการดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนโดยคุณหมอ-ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ การบริการทางการแพทย์ ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน มีบริการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะต่าง ๆ อย่างรอบคลุม ได้แก่ - การผ่าตัดข้อเข่าเทียม การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ข้อเข่า - การผ่าตัดกระดูกสันหลัง การผ่าตัดหมอนรองกระดูก การแก้ไขกระดูกสันหลังคด - รักษาโรคกระดูกทั่วไป และ อุบัติเหตุ เช่น กระดูกหัก ข้อเคลื่อน กระดูกผิดรูป เป็นต้น - วินิจฉัยและตรวจรักษาผ่านกล้อง - การผ่าตัดข้อผ่านกล้อง (ข้อเข่า, ข้อไหล่) - การผ่าตัดต่อนิ้วมือ นิ้วเท้า แขน โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ - การตัดต่อเส้นเอ็น เส้นประสาท - รักษากลุ่มอาการปวดหลัง - รักษาเนื้องอกกระดูก - รักษาภาวะกระดูกพรุน - ตรวจรักษาความพิการแต่กำเนิดของเด็ก เทคโนโลยีทางการแพทย์ การตรวจวินิจฉัยและเครื่องมือทางการแพทย์ - เอ็กซเรย์แม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic resonance imaging : MRI) - การตรวจมวลกระดูก (Bone Densitometry) การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมด้วยวิธีเนื้อเยื่อบาดเจ็บน้อย (Minimally Invasive Surgery for Total Knee Arthroplasty-MIS TKA - ลดอาการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อรอบเข่าและการเจ็บปวดหลังการผ่าตัด - รอยแผลเป็นหลังการผ่าตัดเล็กกว่า - รอยแผลเป็นสั้นเพียง 4-6 นิ้ว ซึ่งวิธีการผ่าตัดแบบมาตรฐานยาว 8-10 นิ้ว - เสียเลือดจากการผ่าตัดน้อยกว่า - ใช้เวลาพักฟื้นหลังการผ่าตัดในโรงพยาบาลสั้น ศูนย์กระดูกและข้อของโรงพยาบาลนครธน มีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะและมีประสบการณ์ บริการให้คำปรึกษา รักษา และดูแลทุกปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและข้อ รวมทั้งกล้ามเนื้อ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อดูแลคุณอย่างครบทุกด้าน ด้วยทางเลือกการรักษาทั้งแบบผ่าตัดส่องกล้องและไม่ผ่าตัด ด้วยมาตรฐานความปลอดภัยระดับสากล และความพึงพอใจสูงสุดของผู้รับบริการ ให้บริการตรวจรักษาโดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของทางศูนย์กระดูกและข้อของโรงพยาบาลนครธน จึงวินิจฉัยหรือวางแผนการรักษาได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และตรงจุด จะรักษาตามอาการของโรคใช้ยาแก้อักเสบ การผ่าตัด อาการที่มีการเรื้อรัง ต้องใช้เวลาในการรักษา ซึ่งการรักษาที่ดีและเป็นการป้องกันการเกิดโรคข้อและกระดูก คือ การปรับพฤติกรรม ลดความเสี่ยงที่ทำให้ระบบข้อและกระดูกเสื่อม เร็วกว่าที่ควรจะเป็น ทำให้ผลการรักษาเป็นที่น่าพอใจ ผู้ป่วยเจ็บน้อย ฟื้นตัวไว กลับไปใช้ชีวิตได้ดังเดิมในเวลาไม่นาน สำหรับผู้ที่กำลังมีปัญหาด้านกระดูกและข้อสามารถติดต่อเข้ามาขอรับคำปรึกษากับทางศูนย์กระดูกและข้อของโรงพยาบาลนครธนยินดีให้คำปรึกษาโดยตรงค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน https://www.nakornthon.com/Center/Detail/ศูนย์กระดูกและข้อ
  5. เส้นเอ็นไขว้หน้าข้อเข่า เป็นเส้นเอ็นที่บริเวณกึ่งกลางข้อเข่าด้านหน้า ซึ่งเส้นเอ็นนี้จะอยู่เชื่อมต่อระหว่างข้อกระดูกของต้นขาและยึดกันกับข้อกระดูกของหน้าแข้ง โดยการวางตัวของเอ็นจะทำมุมในลักษณะแนวเฉียงไขว้เป็นรูปกากบาทกับเส้นเอ็นไขว้หลัง จึงเรียกว่าเส้นเอ็นไขว้หน้า ส่วนใหญ่สาเหตุที่พบมักเกิดในอุบัติเหตุจากการเล่นกีฬาที่ต้องเกิดการปะทะกันอย่างเช่น บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล, เบสบอล, ฟุตบอล เป็นกีฬาที่มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บได้ง่าย ไม่ว่าจะเกิดจากอุบัติเหตุหรือการเล่นที่ไม่ถูกวิธี บางครั้งการหมุนเข่าหรือเข่าพลิกอย่างฉับพลัน อาจทำให้ “เอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด” ได้แบบไม่รู้ตัว สาเหตุจากอุบัติเหตุอื่น ๆ ที่อาจพบได้แต่ไม่บ่อยเท่ากับการเล่นกีฬา บางรายพบว่ามีเสียงลั่นในข้อ มีอาการปวดเข่า เข่าบวม อาจสงสัยว่าอาการนี้มาจากข้อเข่าเสื่อม หรือเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาดกันแน่ เรามีข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาด้วยการผ่าตัดส่องกล้องจากโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการมาให้ความรู้กันค่ะ การผ่าตัดส่องกล้องซ่อมเอ็นเข่าและไหล่ เรื่องเล็กที่ไม่เล็ก เมื่อพูดถึงเรื่องการบาดเจ็บของเส้นเอ็นส่วนใหญ่จะพบในกลุ่มคนอายุน้อยและเกิดการบาดเจ็บหลังได้รับอุบัติเหตุหรือหลังจากเล่นกีฬาส่วนมากการบาดเจ็บที่พบบ่อยที่สุดคือการบาดเจ็บของเอ็นไขว้หน้าเข่าและการฉีกขาดของเอ็นไหล่ซึ่งการบาดเจ็บดังกล่าวจะส่งผลให้มีการปวดเรื้อรังรู้สึกข้อเข่าหลวมไม่มั่นคงหรือไหล่หลุดง่ายซึ่งหากปล่อยไว้นานอาการปวดจะรบกวนชีวิตประจำวันมากขึ้นเรื่อย ๆ จนทนไม่ไหว สาเหตุ 1.การบาดเจ็บของเอ็นเข่า - ส่วนใหญ่เกิดจากการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาได้แก่กีฬาจำพวก Contact Sport หรือกีฬาที่ต้องเกิดการปะทะกันเช่น บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล, เบสบอล, ฟุตบอล - เกิดจากการหมุนเข่าหรือเข่าพลิกอย่างฉับพลันทำให้เอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด - อุบัติเหตุจราจร 2.การบาดเจ็บของเอ็นข้อไหล่ - อาการบาดเจ็บของข้อไหล่เกิดจากการได้รับการกระแทกโดยตรงเช่นกันล้มไหล่กระแทกกับพื้นหรือการล้มเอามือยันพื้นทำให้แรงดันพื้นส่งมากระทบที่ไหล่ หรือการเล่นกีฬาที่ผิดท่า อาการ มีอาการปวดบวมช้ำหรือเดินลงน้ำหนักไม่ได้ถ้าถึงขั้นเอ็นฉีกขาดก็จะมีเลือดออกในข้อซึ่งเขาจะบวมมากโดยส่วนใหญ่จะเดินลงน้ำหนักไม่ได้เลยใน 1-2 วันแรกหลังจากได้รับการบาดเจ็บ การรักษา การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดแบบส่องกล้องซ่อมเอ็นใหม่ซึ่งข้อดีของการผ่าตัดส่องกล้องคือ - ช่วยลดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อและอวัยวะภายในทำให้มีความเจ็บน้อยปวดน้อยและลดการเสียเลือด - ขนาดของแผลมีขนาดเล็กเพียง 1-2 เซนติเมตรซึ่งเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดจะทำให้มีแผลกว้างถึง 12 ถึง 20 เซนติเมตร ดังนั้นการผ่าตัดแบบ MIS จะช่วยลดขนาดของแผลเป็น - การพักฟื้นที่โรงพยาบาลหลังผ่าตัดเพียง 2-3 วัน ซึ่งเร็วกว่าการผ่าตัดแบบเปิดที่ต้องเสียเวลาพักฟื้นนานประมาณ 5-7 วัน - ช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนและโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ - ช่วยลดการเกิดพังผืดจากการผ่าตัดแบบเปิด - แพทย์ผู้ผ่าตัดเห็นรายละเอียดของตำแหน่งที่ต้องการผ่าตัดได้อย่างชัดเจนด้วยเทคโนโลยีกำลังขยายของกล้องซึ่งช่วยให้ผ่าตัดได้ตรงจุดจึงลดการกระทบต่ออวัยวะอื่น ๆ ข้อจำกัดของการผ่าตัดส่องกล้อง มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงเนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์ที่มีนวัตกรรมพิเศษ การผ่าตัดด้วย Minimally invasive surgery (MIS) นั้นจำเป็นต้องอาศัยแพทย์และทีมงานที่มีความชำนาญพิเศษโดยทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการมีทีมแพทย์ที่ผ่านการศึกษาอบรมการผ่าตัดด้วยวิธี Minimally invested surgery จากสถาบันการแพทย์ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งพร้อมให้การดูแลรักษาสุขภาพของท่านเป็นอย่างดี ซึ่งหากแพทย์ตรวจพบโรคแล้วจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัดทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการขอมอบสิทธิพิเศษเสริมความปลอดภัยให้ทุกท่านที่จะเข้ารับการผ่าตัดทุกประเภทให้ได้รับการตรวจโรค COVID -19 ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย พร้อมนวัตกรรมการผ่าตัดแบบส่องกล้อง Minimally invasive surgery มาช่วยลดระยะเวลาในการพักฟื้นและลดรอยแผลจากการผ่าตัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงตอนนี้คุณคงจะได้รับความกระจ่างเกี่ยวกับอาการเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาดแล้ว และ คลายความกังวลที่จะเข้ารับการรักษาด้วยเทคโนโลยีการผ่าตัดส่องกล้องแล้วนะคะ ฉะนั้นผู้ที่กำลังมีอาการดังกล่าว ควรรีบไปพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับการวินิจฉัยและการรักษาก่อนที่การบาดเจ็บจะเรื้อรังจนทำให้ข้อเข่าเสื่อมก่อนวัยอันควรนะคะ ขอบคุณข้อมูลจากโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ : https://bit.ly/3nJrV6p สอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เบอร์โทร 02-363-2000
  6. รู้ทันก่อนรักษาหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท หากคุณกำลังมีอาการปวดหลังร้าวลงขา ตึงหลัง ขาชา เดินลำบากแล้วละก็ อย่าปล่อยให้อาการเรื้อรัง อาจเสี่ยงหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้ หรืออาการที่เรียกกันติดปากว่า “กระดูกทับเส้น” โรคยอดฮิตของคนปวดหลัง แต่จริง ๆ แล้วกระดูกไม่ได้ทับเส้นประสาทอย่างที่หลาย ๆ คนเข้าใจ แต่เป็นหมอนรองกระดูกต่างหาก แล้วหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเกิดขึ้นได้อย่างไร ? วันนี้เรามีข้อมูลแบบละเอียดเกี่ยวกับอาการและการรักษา รวมไปถึงการผ่าตัดส่องกล้อง จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการมาให้ความรู้กันค่ะ หมอนรองกระดูกสันหลัง กดทับเส้นประสาท กระดูกสันหลัง จะมีหมอนรองกระดูก และข้อต่อกระดูกสันหลังคอยเชื่อมต่อกับกระดูกหลายชิ้น โดยที่ตัวกระดูกสันหลังทำหน้าที่ปกป้องไขสันหลัง ส่วนหมอนรองกระดูกจะทำหน้าที่ให้กระดูกสันหลังยืดหยุ่นและสามารถรับแรงกระแทกของน้ำหนักตัวจากการเคลื่อนไหวได้ ดังนั้นการใช้งานหนักในชีวิตประจำวัน หรืออายุที่เพิ่มขึ้น ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพได้ หมอนรองกระดูก ที่พบว่ามีปัญหาบ่อยที่สุดก็คือ หมอนรองกระดูกสันหลังในระดับเอวข้อที่ 4-5 เนื่องจากเป็นข้อต่อระดับที่มีการเคลื่อนไหว และรับน้ำหนักมากในร่างกาย ซึ่งเมื่อหมอนรองกระดูกมีสภาพเสื่อม ความสูงของหมอนรองกระดูกจะมีขนาดลดลง และมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อหมอนรองกระดูก ทำให้แกนหมอนรองกระดูกหลุดรอดมาภายนอก และกดทับเส้นประสาทไขสันหลังได้ อาการของ โรคหมอนรองกระดูกสันหลัง กดทับเส้นประสาท - ปวดหลัง สะโพกและปวดร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างรุนแรง ซึ่งจะมีอาการปวดมากขึ้นเวลาไอ หรือจาม - กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อสะโพกและขาบางรายมีอาการชาปลายเท้าร่วมด้วย หากอาการรุนแรงมากจะไม่สามารถกระดกปลายเท้า หรือเดินได้ - ปลายเท้าชา โดยเฉพาะบริเวณง่ามนิ้วหัวแม่เท้า - ระบบขับถ่ายผิดปกติ ในกรณีที่มีอาการรุนแรงมาก จะมีความผิดปกติของระบบขับถ่ายร่วมด้วย เช่น ไม่สามารถควบคุมการอุจจาระ หรือ ปัสสาวะได้ ซึ่งจำเป็นต้องผ่าตัดรักษาอย่างเร่งด่วน เพื่อป้องกันระบบขับถ่าย ไม่สามารถฟื้นคืนได้ตามปกติ การรักษา โรคหมอนรองกระดูกสันหลัง กดทับเส้นประสาท 1.รักษาโดยการลดน้ำหนัก พร้อมทั้งหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดอาการหนักขึ้น - การยกของหนัก - การนั่งรถยนต์เป็นเวลานาน - หลีกเลี่ยงอาการท้องผูกหรือเบ่ง ถ่ายอุจจาระแรงเกินไป เป็นต้น เนื่องจากจะทำให้เกิดแรงดัน ในหมอนรองกระดูกสูง ซึ่งเป็นสาเหตุให้หมอนรองกระดูกทนแรงดันไม่ได้ ทำให้เกิดการแตกของหมอนรองกระดูกตามมา 2.ยาต้านการอักเสบ NSAIDS และ ยาคลายกล้ามเนื้อ 3.ใช้กายภาพบำบัดและใช้เสื้อพยุงหลัง เพื่อช่วยในการลดอาการปวด และทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับไป ใช้ชีวิตประจำวัน ได้ปกติเร็วขึ้น และทำให้หน้าท้องกระชับขึ้น เพื่อที่จะจะช่วยลดแรงดันในหมอนรองกระดูกสันหลังได้ นอกจากกนี้ยังต้องลดเคลื่อนไหวของ กระดูกสันหลัง ก็จะทำให้อาการปวดลดลง เช่นกัน 4.การผ่าตัด แพทย์จะพิจารณาตามเกณฑ์ดังนี้ - ผู้ป่วยที่มีอาการปวดมากจนทนไม่ได้ แม้จะรักษาโดยรับประทานยา พักและกายภาพบำบัดเต็มที่แล้วก็ยังไม่เป็นปกติ - มีอาการชา อ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อขาลีบอย่างเห็นได้ชัด - มีปัญหาระบบขับถ่ายผิดปกติ ที่เกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาท เช่น กลั้นอุจจาระหรือปัสสาวะไม่ได้ การผ่าตัดส่องกล้องส่องขยาย (Microscopic Spine Surgery) การผ่าตัดหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทโดยทั่วไป ศัลยแพทย์กระดูกจะใช้เครื่องมือในการตัดกระดูก และเอ็นพังผืดเพื่อขยายโพรงประสาทคลายการกดรัดเส้นประสาท โดยในระหว่างทำการผ่าตัดบางตำแหน่งของโพรงประสาท อาจมีขนาดที่ตีบแคบมาก ทำให้มองเห็นเส้นประสาทได้ไม่ชัดเจนและมีข้อจำกัด ซึ่งการสอดใส่เครื่องมือผ่าตัดอาจเป็นอันตรายต่อเส้นประสาทได้ ซึ่งการผ่าหมอนรองกระดูกสันหลังโดยการส่องกล้องขยายนั้น จะสามารถลดขนาดแผลผ่าตัดให้เล็กลงได้ และที่กล้องขยายจะมาช่วยให้ศัลยแพทย์สามารถ ที่จะมองเห็นรายละเอียดในการผ่าตัดได้อย่างชัดเจนอีกด้วย ข้อดีของการผ่าตัดผ่านกล้อง 1.ช่วยลดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อและอวัยวะภายใน ทำให้มีความเจ็บปวดน้อย และลดการเสียเลือด 2.ขนาดของแผลนั้นเล็กเพียง 1-2 ซม. ซึ่งเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดจะทำให้มีแผลกว้างถึง 12-20 ซม. ดังนั้น การผ่าตัดแบบ MIS จะช่วยลดขนาดของแผลเป็นที่จะเกิดขึ้นจากการผ่าตัดแบบเปิด 3.พักฟื้นที่โรงพยาบาลเพียง 1-2 วัน ซึ่งในบางกรณีอาจจะกลับบ้านได้ทันทีหลังการผ่าตัด นับว่าเร็วกว่าการผ่าตัดแบบเปิด ที่ต้องเสียเวลาพักฟื้นนานเป็นสัปดาห์ 4.ช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน และโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ถือว่าปลอดภัยกว่าการผ่าตัดแบบเปิด 5.ช่วยลดการเกิดพังผืดจากการผ่าตัดแบบเปิด 6.ทำให้แพทย์มองเห็นรายละเอียดของตำแหน่งที่ต้องการผ่าตัดได้อย่างชัดเจน ด้วยเทคโนโลยีกำลังขยายของกล้อง ซึ่งช่วยให้ผ่าตัดได้ตรงจุดจึงลดการกระทบต่ออวัยวะอื่น ๆ ข้อจำกัดของการผ่าตัดส่องกล้อง - มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์ที่มีนวัตกรรมพิเศษ - ยังไม่สามารถใช้วิธีนี้กับผู้ป่วยในบางราย ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโรคปอดและหัวใจขั้นรุนแรง และผู้ที่เคยผ่าตัด หรือมีพังผืดจำนวนมาก วิธีการเตรียมตัว ก่อน-หลังการผ่าตัด ก่อนการผ่าตัดส่องกล้อง - เตรียมร่างกายให้พร้อม รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งนอนหลับให้เพียงพอ - งดน้ำงดอาหาร อย่างน้อย 6 ชั่วโมง - แจ้งประวัติประจำตัว การแพ้ยา ให้แจ้งแพทย์เมื่อมีอาการป่วยก่อนการผ่าตัด - งดสูบบุหรี่ และแอลกอฮอล์ - กรณีผ่าตัดลำไส้ แพทย์จะทำการล้างลำไส้ โดยจะให้ยากระตุ้นการขับถ่ายออกมาให้หมด - ถอดเครื่องประดับเอาไว้ในที่ปลอดภัย เช่น แหวน สร้อยคอ ต่างหู หรือเครื่องประดับจากการเจาะตามร่างกาย เพื่อป้องกันการเสียหายใน ระหว่างการผ่าตัด หลังการผ่าตัด - งดน้ำงดอาหาร ประมาณ 12-24 ชั่วโมง ตามแพทย์สั่ง - งดสูบบุหรี่ และแอลกอฮอล์ นับว่าการผ่าตัดด้วย Minimal Invasive Surgery นั้นจำเป็นต้องอาศัยแพทย์และทีมงานที่มีความชำนาญพิเศษ โดยทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการ มีทีมแพทย์ที่ผ่านการศึกษาอบรมการผ่าตัดด้วยวิธี Minimal Invasive Surgery จากสถาบันการแพทย์ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งพร้อมให้การดูแลรักษาสุขภาพของท่านเป็นอย่างดี ซึ่งหากแพทย์ตรวจพบโรคแล้วจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัด ทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการ ขอมอบสิทธิ์พิเศษเสริมความปลอดภัยให้ทุกท่านที่จะเข้ารับการผ่าตัดทุกประเภท ให้ได้รับการ ตรวจโรค COVID-19 ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย พร้อมนวัตกรรมการผ่าตัดแบบส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery - MIS) มาช่วยย่นระยะเวลาการพักฟื้น และลดรอยแผล และความเจ็บปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากท่านใดสงสัยว่าตนเองกำลังประสบปัญหา มีอาการปวดหลังร้าวลงขา อย่าปล่อยให้อาการเรื้อรัง อาจมีภาวะเสี่ยงโรคหมอนรองกระกดูกทับเส้นประสาท ควรรีบปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางโรงพยาบาลเปาโลสมุทรปราการ ยินดีให้บริการตั้งแต่การให้คำปรึกษา ตรวจวินิจฉัยและรักษาอาการได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ด้วยเครื่องมือทางการแพทย์ครบครัน รวมถึงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ยินดีให้คำปรึกษาด้วยความจริงใจ สอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เบอร์โทร 02-363-2000 ขอบคุณข้อมูลจากโรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ https://bit.ly/2XulRUr
  7. อาการบาดเจ็บเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด เป็นอาการบาดเจ็บที่รุนแรงจากการเล่นกีฬาโดยเฉพาะกีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล บาสเกตบอล และการวิ่งมาราธอนในระยะต่าง ๆ มักจะพบเห็นข่าวการบาดเจ็บของนักกีฬาเกี่ยวกับเส้นเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาดอยู่เสมอ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษา หากปล่อยทิ้งไว้อาจทำให้ข้อเข่าแย่ลง รู้จัก...เอ็นไขว้หน้าหัวเข่า เอ็นไขว้หน้าหัวเข่า หรือ Anterior Cruciate Ligament (ACL) คือเส้นเอ็นขนาดใหญ่เส้นหนึ่งที่อยู่ภายในเข่า โดยจะเกาะอยู่ระหว่างปลายกระดูกต้นขา (Femur Bone) และต้นกระดูกหน้าแข้ง (Tibia Bone) หน้าที่หลักๆ ของเอ็นเส้นนี้ คือเสริมความมั่นคงให้แก่ข้อเข่า ควบคุมการเคลื่อนไหวของหัวเข่าและหน้าแข้ง ให้เคลื่อนไหวได้มากน้อยและในมุมต่าง ๆ ป้องกันไม่ให้เราเหยียดเข่าเกินองศา (Hyperextension) จนทำอันตรายต่อกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลังและผิวข้อเข่า ถือว่าเป็นเส้นเอ็นที่มีความสำคัญต่อข้อเข่ามาก เพราะหากเส้นเอ็นนี้บาดเจ็บหรือฉีกขาดอย่างถาวร จะทำให้ข้อเข่าขาดความมั่นคงอย่างหนัก ขณะที่ผู้ป่วยเดินจะรู้สึกเข่าหลวม ปวดภายในเข่า และทำให้เข่าเสื่อมตามมาได้เร็วขึ้น เอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดเกิดจากอะไร อาการเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดมักพบได้บ่อย โดยเฉพาะสาเหตุจากการเล่นกีฬาและเกิดจากการบิดหมุนของหัวเข่าที่รุนแรง ทำให้เส้นเอ็นเกิดการบาดเจ็บหรือฉีกขาดได้ ซึ่งมักเกิดขึ้นได้ตลอดเวลากับการเล่นกีฬาทุกประเภท โดยเฉพาะกีฬาที่ต้องมีการปะทะ เช่น นักฟุตบอล นักวอลเลย์บอล นักบาสเกตบอล หรืออาจเกิดจากกิจกรรมอื่นทั่วไป เช่น ตกบันได อุบัติเหตุ แม้แต่เดินสะดุดก็อาจทำให้เอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาดได้เช่นกัน อาการเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดเป็นอย่างไร - รู้สึกมีอะไรดีดอยู่ข้างในขา - หัวเข่าใช้งานไม่ได้ในขณะที่ได้รับบาดเจ็บ - หัวเข่าบวมปูดทันทีหรือภายในไม่กี่ชั่วโมง - มีอาการเจ็บปวดรุนแรงจนไม่สามารถทำกิจกรรมอื่นได้ โดยบางรายหลังจากเอ็นหัวเข่าฉีกขาด อาการปวด บวม อักเสบบริเวณหัวเข่าจะค่อยๆ ดีขึ้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถเดินได้ด้วยตนเอง โดยไม่รู้สึกผิดปกติ แต่เมื่อกลับไปเล่นกีฬาหรือใช้งานอีก จะรู้สึกว่าเข่าไม่มั่นคงและจะทำให้มีความเสี่ยงในการเกิดหมอนรองข้อฉีกขาด ส่งผลให้เกิดอาการงอเข่าไม่ลง ปวดบริเวณข้อ ตามมา การรักษาเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มีภาวะเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาด จะยังสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้เป็นปกติ แต่อาจจะเกิดภาวะข้อเข่าเคลื่อน ในกิจกรรมที่ต้องมีการบิดหมุนของหัวเข่า และที่สำคัญผู้ที่มีภาวะเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาดเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดการบาดเจ็บต่อหมอนรองเข่าและกระดูกอ่อนหัวเข่า ซึ่งจะทำให้เกิดภาวะข้อเข่าเสื่อมก่อนวัยอันสมควร ซึ่งการรักษาแบ่งเป็น 2 แบบ คือ รักษาโดยการไม่ผ่าตัด เหมาะกับผู้สูงอายุที่ไม่ต้องการทำกิจกรรมที่ใช้หัวเข่ามากนัก และสามารถปรับพฤติกรรมตนเองให้เหมาะกับเข่าที่ไม่สามารถบิดหมุนรุนแรง รักษาโดยการผ่าตัดส่องกล้อง เหมาะสำหรับผู้ป่วยอายุน้อย และต้องการกลับไปใช้ชีวิตประจำวันและกีฬาในระดับใกล้เคียงกับก่อนการบาดเจ็บ การผ่าตัดส่องกล้องรักษาเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด การรักษาเส้นเอ็นไขว้หน้าหัวเข่า ทำได้โดยการผ่าตัดซ่อมสร้างเส้นเอ็นด้วยวิธีผ่าตัดส่องกล้อง (Arthroscopic Surgery) โดยนำเส้นเอ็นจากบริเวณอื่นมาทดแทน โดยทั่วไปจะใช้เอ็นจากสะบ้าเข่าหรือเอ็นบริเวณรอบ ๆ มาใช้ การผ่าตัดส่องกล้อง มีข้อดี คือผ่าตัดเจาะรูเล็กเพื่อใส่อุปกรณ์ และกล้องสำหรับส่องเข้าไปในข้อ แสดงภาพที่ จอคอมพิวเตอร์ช่วยให้แพทย์สามารถมองเห็นรายละเอียดได้อย่างชัดเจน คนไข้จะมีอาการบาดเจ็บหลังการผ่าตัดน้อยกว่า ใช้เวลาพักฟื้นสั้น และมีโอกาสในการติดเชื้อที่ต่ำกว่า ซึ่งคนไข้จะสามารถกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติได้รวดเร็วกว่า ผ่าตัดส่องกล้อง แล้วจะสามารถกลับไปเล่นกีฬาได้เมื่อไหร่ โดยทั่วไปหลังการผ่าตัด ประมาณ 1 เดือนผู้ป่วยจะใช้ไม้เท้าและสนับเข่า 3 เดือนหลังผ่าตัด จะเดินเร็วได้ และ 6-9 เดือนหลังผ่าตัด แพทย์จะให้ทำกายภาพบำบัดที่เหมาะสมกับกีฬาแต่ละแบบ และประมาณ 1 ปีหลังการผ่าตัด ผู้ป่วยจะสามารถกลับไปเล่นกีฬาได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละรายด้วย ปัจจุบันมีการผ่าตัดเส้นเอ็นไขว้หน้าเข่าด้วยการผ่าตัดส่องกล้อง ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า แผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นตัวไว ทำกายภาพบำบัดได้ง่ายกว่าเดิม ทั้งนี้ผู้ป่วยที่มีเส้นเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาด จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัด ควบคู่การทำกายภาพบำบัดเป็นเวลาอย่างน้อย 6 เดือน ซึ่งเอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดนั้น หากไม่รีบรักษาจะส่งผลให้เข่าเสื่อมก่อนวัยได้ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน https://www.nakornthon.com/Article/Detail/เอ็นไขว้หน้าหัวเข่าฉีกขาดจากการเล่นกีฬารักษาได้ด้วยผ่าตัดส่องกล้อง
  8. การผ่าตัดโรคทางนรีเวชในปัจจุบัน ง่ายและสะดวกขึ้นด้วยนวัตกรรมและแพทย์ผู้เชียวชาญ จากที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดมดลูกและรังไข่ ด้วยวิธีการผ่าตัดแบบมาตรฐาน แต่อาจทำให้มีแผลใหญ่ขนาด 8-10 เซนติเมตร ก็เล็กลงเหลือเพียง 0.5-1 ซม. ช่วยลดการบาดเจ็บ และช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็วขึ้น จึงได้มีการนำวิธี “การผ่าตัดส่องกล้อง (MIS)” มาใช้ในการผ่าตัดรักษาโรคทางนรีเวช การผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การผ่าตัดผ่านกล้องทางหน้าท้อง (Laparoscopic Surgery) เป็นการใช้กล้องส่องเข้าไปเพื่อการวินิจฉัย และทำการผ่าตัดภายในช่องท้อง การผ่าตัดผ่านกล้องในโพรงมดลูก (Hysteroscopic Surgery) เป็นการใช้กล้องส่องดูความผิดปกติของโพรงมดลูกโดยผ่านทางปากมดลูกเพื่อการวินิจฉัย และการทำการผ่าตัด โรคทางนรีเวชที่สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดผ่านกล้อง มีดังนี้ - เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Myoma uteri) - เนื้องอกรังไข่ (Ovarian tumor) - ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian cyst) - ช็อกโกแลตซีสต์ (Chocolate cyst) - เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis) - พังผืดในอุ้งเชิงกราน (Pelvic adhesion) - ตั้งครรภ์นอกมดลูก (Ectopic pregnancy) - ท่อนำไข่อุดตัน (Tubal obstruction) - ตรวจสาเหตุภาวะมีบุตรยาก (Infertility) - เนื้องอกหรือติ่งเนื้อในโพรงมดลูก (Polyp, myoma) - พังผืดในโพรงมดลูก (Uterine synechiae) - ผนังกั้นกลางในโพรงมดลูก (Septate uterus) - การทำหมันหญิง (Tubal Sterilization) - ห่วงอนามัยทะลุเข้าช่องท้อง (Perforated IUD) - การตัดมดลูกออกเนื่องจากสาเหตุต่าง ๆ (Hysterectomy) - มะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก (Early stage of Cervical cancer) - มะเร็งรังไข่ในระยะต้น (Early stage of Ovarian cancer) - มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometrial cancer) - เนื้องอกถุงน้ำรังไข่ ชนิดที่ไม่เป็นมะเร็งหรือช็อกโกแลตซีสต์ที่มีขนาดใหญ่ สามารถผ่าตัดผ่านกล้องทางแผลผ่าตัดเล็กได้ - เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Myomectomy) ขนาดใหญ่ซึ่งเป็นเนื้อตัน สามารถผ่าตัดผ่านกล้องด้วยการใช้เครื่องมือชนิดพิเศษที่ตัดย่อยชิ้นเนื้อเป็นชิ้นเล็กๆ เอาออกผ่านแผลเล็กๆ และสามารถเย็บปิดโดยผ่านกล้อง รวมทั้งกรณีที่มีข้อบ่งชี้ในการตัดมดลูก (Hysterectomy ) การผ่าตัดผ่านกล้องมีวิธีให้เลือก เช่น ตัดมดลูกออกโดยเหลือปากมดลูกไว้ ตัวมดลูกจะเอาออกโดยเครื่องตัดย่อยชิ้นเนื้อ หรือการตัดมดลูกออกพร้อมปากมดลูกโดยเอาออกทางช่องคลอด เย็บปิดโดยผ่านกล้อง ข้อดีของการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช - แผลผ่าตัดเล็ก ขนาดประมาณ 0.5-1.0 เซนติเมตร ประมาณ 3-4 แผล - เจ็บแผลน้อยมาก เนื่องจากความบอบช้ำจากการผ่าตัดน้อยกว่าการผ่าตัดแบบเดิม - พักฟื้นในโรงพยาบาลเพียง 1-2 วัน - ฟื้นตัวไว สามารถกลับไปทำงานหรือกิจวัตรประจำวันได้ภายใน 5-10 วัน - ลดโอกาสเกิดพังผืดจากการผ่าตัด - ลดความเสี่ยงของอาการแทรกซ้อนจากแผลผ่าตัด เช่น แผลอักเสบ แผลติดเชื้อ แผลเป็นหนอง เป็นต้น การผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช เป็นอีกหนึ่งในการรักษาโรคอวัยวะอุ้งเชิงกรานในสตรี ลดการเจ็บปวด ใช้เวลาพักฟื้นน้อย กลับบ้านได้เร็วขึ้น สามารถทำกิจกรรมเบาๆ ได้ภายใน 3-5 วันหลังการผ่าตัด แต่การออกกำลังกายควรรอให้ผ่านการผ่าตัดไปแล้ว 1 เดือนก่อน เพื่อให้มั่นใจว่าสภาพร่างกายกลับมาสมบูรณ์ทั้งภายในและภายนอก ขอบคุณข้อมูลจาก : https://www.nakornthon.com/Article/Detail/ให้เรื่องใหญ่กลายเป็นเรื่องเล็กด้วยการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช-mis-3d
×
×
  • สร้างใหม่...