ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'ปวดหลังส่วนบน'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 4 รายการ

  1. เชื่อว่าหลายคนคงเคยมีประสบการณ์ ของการปวดคอและปวดหลังส่วนบนกันมาบ้าง วิธีแก้ไขเบื้องต้นที่ทุกคนนิยมทำกันก็มีหลายวิธี เช่น การนวดด้วยสมุนไพร ทำท่ากายบริหารต้นคอ ใช้แผ่นประคบร้อน ประคบเย็นด้วยน้ำแข็ง และทานยาแก้ปวด หากมีอาการปวดคอ เล็ก ๆ น้อย ๆ ทำวิธีที่ว่ามาทั้งหมดนี้อาการปวดคอก็อาจจะดีขึ้น แต่ก็มีบางคนที่ยังคงมีอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน ทั้งที่ทำตามทุกวิธีที่กล่าวมาแล้ว อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนที่เป็นก็ไม่ดีขึ้นเลย จนเริ่มมีผลกระทบต่อคุณภาพการใช้ชีวิตประจำวัน อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เกิดขึ้นจากสาเหตุอะไรกันแน่ หากไม่รีบรับการรักษา อาการจะมีความรุนแรงมากหรือไม่? วันนี้เรามีความรู้ดี ๆ จากทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมาฝากกัน เพื่อช่วยให้คุณได้ทำความเข้าใจ รู้ถึงแนวทางการแก้ไข เพื่อจะได้รีบทำการรักษาแต่เนิ่น ๆ ก่อนที่อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนเรื้อรังที่เป็นอยู่ จะลุกลามบานปลายจนอาจทำให้การรักษาทำได้ยากขึ้นนั่นเองค่ะ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
  2. การนอนไม่ถูกท่า การนั่งทำงานอย่างไม่ถูกลักษณะ หรือการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา สิ่งเหล่านี้อาจทำให้คุณมีอาการปวดคอ หรือปวดหลังได้ บางคนมีอาการปวดคอ ปวดร้าวมาปวดหลังส่วนล่าง หรือปวดหลังส่วนบน ก็ยังมองข้ามไม่ใส่ใจ คิดว่าเป็นเรื่องเล็ก ๆ กินยาแก้ปวดเดี๋ยวก็หาย แต่เมื่อนานไปอาการปวดกลับไม่ดีขึ้นเลย จนสร้างความวิตกกังวลใจเพราะอาการปวดเริ่มทวีความรุนแรงขึ้น จนกระทั่งเริ่มส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ความจริงอาการปวดหลัง เป็นปัญหาสุขภาพของทุกอาชีพ สาเหตุเกิดจากอะไร วิธีใดสามารถบรรเทาอาการปวดหลังได้บ้าง ? เพื่อไขข้อสงสัย ทางเราได้นำความรู้ที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับอาการปวดคอ ปวดหลังที่เรื้อรังปวดไม่หายสักที จากทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มาฝากกัน ไปรับข้อมูลเพิ่มเติมพร้อมกันตอนนี้ได้เลยค่ะ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ อาการปวดคอ ปวดหลัง ถือเป็นอาการที่ดูเหมือนจะธรรมดา แต่ก็มีปัญหาใหญ่และอันตรายซ่อนอยู่ จึงไม่ควรมองข้าม เพราะหากปล่อยไว้นานให้กลายเป็นการเจ็บปวดเรื้อรัง ถึงตอนนั้นอาจทำให้อาการรุนแรงรักษายากขึ้น แนะนำว่าไม่ควรชะล่าใจหรือปล่อยทิ้งไว้ ควรเข้าพบแพทย์เพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้องตั้งแต่ระยะอาการเริ่มแรก ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
  3. วัยทำงานหลาย ๆ คน ที่ต้องนั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือจ้องโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน ๆ คงต้องเคยมีประสบการณ์อาการปวดคอ ปวดหลัง หรือปวดหลังส่วนบนกันมาบ้าง ไม่มากก็น้อย บางคนมีอาการปวดแบบเป็น ๆ หาย ๆ ไปนวดบำบัด หรือกินยาแก้ปวดเดี๋ยวสักพักก็ดีขึ้น แต่บางคนปวดคอ ปวดหลัง จนเรื้อรัง ปวดผ่านมาเป็นเดือนแล้วยังไม่ดีขึ้นเลย อาการปวดคอ ปวดหลัง ยิ่งกลับมากขึ้น ไม่ว่าจะลุก ยืน นอน นั่งก็ปวดไปหมด จนเริ่มส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อไขข้อข้องใจเรื่องนี้ ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีข้อมูลมาฝากกันค่ะ ถึงเรื่องอาการปวดคอ ปวดหลัง ปวดหลังส่วนบน ว่าอาการปวดแบบนี้สาเหตุเกิดจากโรคอะไร? หรืออาการปวดแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาที่คุณต้องรีบรักษาโดยด่วน! ก่อนที่อาการจะเรื้อรังจนรักษายาก มาดูกันค่ะ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ รูปแบบใหม่ของการให้บริการทางการแพทย์ ของบำรุงราษฎร์ที่เรียกว่า บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิรก์ คือการนำองค์ความรู้ทางการแพทย์ บุคลากรที่มีประสบการณ์เทคโนโลยีของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ที่ได้สั่งสมมากว่า 40 ปี มาร่วมมือกับ โรงพยาบาลนครธน โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันให้บริการทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งเทคโนโลยีการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ทันสมัยเพื่อผลการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเป็นสำคัญ พร้อมได้รับการรักษาในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ หากท่านกำลังมีอาการปวดคอ ปวดหลัง หรือปวดหลังส่วนบนอยู่ แนะนำว่าควรรีบมาพบแพทย์ เพื่อให้วินิจฉัยหาสาเหตุ หากปล่อยให้ปวดเรื้อรังไปนานเข้า อาจจะส่งกระทบต่อการดำเนินชีวิต ควรรีบทำการรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ เพื่อให้สามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันตามปกติได้โดยเร็ว ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้ได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
  4. หากคุณกำลังมีอาการปวดคอ ปวดหลังส่วนบนเกิดขึ้นหลังจากยกของหนักหรือเล่นกีฬา อาจเกิดจากกล้ามเนื้ออักเสบ ถ้าหากอาการที่เป็นอยู่ไม่สามารถหายได้เองหรือเป็นเกิน 2 - 3 อาทิตย์ขึ้นไป อย่าปล่อยทิ้งไว้จนอาการเรื้อรัง ควรหาสาเหตุที่แน่ชัด เพื่อการรักษาที่ตรงจุดและถูกวิธี หากคุณมีอาการเหล่านี้อยู่ วันนี้เรามีข้อมูลดี ๆ จากทางศูนย์กระดูกสันหลังโรงพยาบาลนครธนมาฝากค่ะ เพื่อให้คุณได้หมั่นสังเกตตัวเองว่า เวลาปวดนั้นรู้สึกปวดแบบใด เพราะลักษณะอาการปวดคอ ปวดหลังส่วนบนนั้น สามารถเป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยโรคได้ ดังนี้ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ รูปแบบใหม่ของการให้บริการทางการแพทย์ ของบำรุงราษฎร์ที่เรียกว่า บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิรก์ คือการนำองค์ความรู้ทางการแพทย์ บุคลากรที่มีประสบการณ์เทคโนโลยีของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ที่ได้สั่งสมมากว่า 40 ปี มาร่วมมือกับ โรงพยาบาลนครธน โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันให้บริการทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งเทคโนโลยีการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ทันสมัยเพื่อผลการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเป็นสำคัญ พร้อมได้รับการรักษาในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ เมื่อมีอาการปวดคอร่วมกับปวดหลังส่วนบน ไม่ควรนิ่งนอนใจ เพราะอาการปวดอาจมีหลายสาเหตุ ดังนั้นเมื่อมีสัญญาณเตือนอาการเหล่านี้ ควรเริ่มป้องกันและค้นหาต้นตอสาเหตุคือสิ่งที่ดีที่สุด และเมื่อมีอาการแล้วก็ไม่ควรปล่อยไว้นานจนเรื้อรัง เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนถึงโรคร้ายแรงได้ ควรรีบนำมาปรึกษาแพทย์เฉพาะทางด้านโรคกระดูกสันหลัง ของศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษาท่านอยู่ สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
×
×
  • สร้างใหม่...