ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'ศูนย์กระดูกสันหลัง'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 10 รายการ

  1. อาการปวดหลังเป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย อาการปวดหลังมีหลายระดับความรุนแรง เช่น เริ่มจากแค่ปวดหลังธรรมดาจากการใช้ชีวิตประจำวัน ทานยาแก้ปวดอาการปวดก็ทุเลาลงได้ บางคนมีอาการปวดหลังรุนแรงร่วมกับแขน-ขา ชา หรือไม่มีแรง และบางคนมีอาการปวดหลังเรื้อรัง เป็นมานานรักษาไม่หายเสียที แบบนี้นับว่าอันตรายเพราะ อาจนำไปสู่โรคกระดูกสันหลังได้ วันนี้เรานำข้อมูลความรู้ดี ๆ จากทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมาฝากเกี่ยวกับอาการปวดหลังเรื้อรัง อันตราย อย่ามองข้าม อาการปวดแบบไหน ควรรีบพบแพทย์ด่วน มาฝากกันค่ะ อาการปวดหลังเรื้อรัง สามารถเกิดขึ้นได้กับบุคคลทั่วไป และพบได้บ่อยมากขึ้น ทั้งจากพฤติกรรมการยืน นั่ง นอน อาชีพการทำงาน โดยคนส่วนใหญ่จะได้รับผลกระทบจากอาการปวดหลังบ้าง ซึ่งลักษณะการปวดหลังเรื้อรังนั้นสามารถเป็นได้ตั้งแต่การปวดแบบธรรมดาแต่ไม่รุนแรง ไปจนถึงอาการปวดแบบเฉียบพลัน แต่ก็มีหลายคนที่อาการปวดหลังเรื้อรังมีความรุนแรง กระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ถึงขั้นไม่สามารถทำงานได้ หรือมีอาการปวดหลังร้าวลงขา อาการชาตามมา อาจนำไปสู่โรคที่ร้ายแรงเกี่ยวข้องกับกระดูกสันหลัง เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้ หากปล่อยไว้นานอาจถึงขั้นเคลื่อนไหวไม่ได้ ระบบการขับถ่ายผิดปกติ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการตรวจและรักษาโดยทันที ปวดหลังเรื้อรังเป็นอย่างไร โดยปกติอาการปวดหลังจากกล้ามเนื้ออักเสบในบุคคลทั่วไปสามารถทุเลาได้เองในช่วงเวลา 2 สัปดาห์ และมักจะมีอาการค่อยๆ ดีขึ้น หลังจากได้รับการรักษา แต่สำหรับอาการปวดหลังเรื้อรังนั้นจะเป็นอาการปวดหลังที่ไม่ดีขึ้นภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ปวดหลังเป็นๆ หายๆ ปวดหลังอย่างต่อเนื่องมากกว่า 3 เดือน หรืออาการปวดหลังดังกล่าวไม่บรรเทามีแต่จะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุอาการปวดหลังเรื้อรัง อาการปวดหลังเรื้อรัง ที่มาจากปัญหาของกระดูกสันหลัง ได้แก่ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ซึ่งสามารถพบได้ทุกเพศ ทุกวัย แต่ปัจจุบันพบบ่อยที่สุดในกลุ่มวัยทำงาน เกิดจากการฉีกขาดของเปลือกหมอนรองกระดูก ทำให้เกิดอาการปวดหลังเรื้อรัง เวลาไอ จาม หรือเบ่งจะยิ่งปวด และหากส่วนเนื้อด้านในปลิ้นออกมากดทับเส้นประสาทซึ่งอยู่ด้านหลังหมอนรองกระดูก ก็จะทำให้มีอาการปวดหลังร้าวลงขาร่วมด้วย กระดูกสันหลังเสื่อม เกิดจากความเสื่อมตามวัย ของข้อต่อกระดูกสันหลัง ทำให้มีกระดูกงอกหรือเคลื่อนมาทับเส้นประสาทส่งผลให้มีปวดหลังเรื้อรัง หรือปวดหลังร้าวจนเกิดอาการปวดขาตามมา ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ กระดูกหลังเคลื่อน เป็นภาวะที่มีการเคลื่อนของกระดูกสันหลังข้อหนึ่งไปด้านหน้า หรือด้านหลังมากกว่าปกติ โดยส่วนมากมักพบการเคลื่อนของกระดูกสันหลังระดับเอวข้อที่ 4 และข้อที่ 5 เนื่องจากข้อกระดูกสันหลังส่วนนี้จะรับน้ำหนักส่วนใหญ่ของร่างกาย ซึ่งจะทำให้เกิดอาการปวดหลังเรื้อรัง มักเกิดในขณะที่มีการขยับหลังมาก เช่น การก้ม เงย หรือเดิน โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ เกิดจากความเสื่อมของอวัยวะในกระดูกสันหลัง ทั้งหมอนรองกระดูก เส้นเอ็น และข้อต่อ เมื่อมีการเสื่อมอวัยวะเหล่านี้จะขยายขนาดขึ้นก็จะทำให้โพรงประสาทที่มีเส้นประสาทอยู่ด้านในถูกเบียดหรือกดทับได้ ทำให้เกิดอาการปวดหลังเรื้อรัง ซึ่งอาการปวดมักอยู่ที่ส่วนกลางของเอวและมักเป็นมากขึ้นในท่ายืน เดิน หรือเมื่อมีการแอ่นหลังไปด้านหลังมาก ๆ ปวดหลังเรื้อรังแบบไหนอันตราย ควรรีบพบแพทย์ มีอาการปวดหลังเรื้อรังมานานเกินกว่า 3 เดือนขึ้นไป โดยอาการไม่บรรเทามีแต่จะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น มีอาการปวดหลังร้าวลงขาติดต่อกันนาน 2 สัปดาห์ อาจเป็นข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง พร้อมทั้งอาจมีอาการขาชา กล้ามเนื้อขาอ่อนแรง ปวดขณะเปลี่ยนอิริยาบถ ปวดรุนแรงมากตอนกลางคืน กระดกข้อเท้าไม่ได้ มีปวดขา ขาชาและขาอ่อนแรงชัดเจน ขาลีบเล็กลง เบื่ออาหารและน้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว ควบคุมการขับถ่ายไม่ได้หรือปัสสาวะไม่ออก การตรวจวินิจฉัยอาการปวดหลังเรื้อรัง สำหรับการตรวจวินิจฉัยอาการปวดหลังเรื้อรัง แพทย์จะสามารถวินิจฉัยได้จากการซักประวัติและตรวจร่างกายเป็นหลัก อาจมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันการวินิจฉัย ด้วยการตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ซึ่งสามารถตรวจพบความผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว สามารถบอกขอบเขตของโรคได้ ทำให้แพทย์สามารถวางแผนการรักษาโรคต่อไปได้ ให้ภาพคมชัด ละเอียด แยกความแตกต่างระหว่างเนื้อเยื่อได้อย่างชัดเจน ทำให้มีความถูกต้องแม่นยำในการวินิจฉัยโรคมากยิ่งขึ้น การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรัง การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรัง มีแนวทางการรักษาหลายวิธีขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ และโรคที่เป็น โดยแบ่งเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังแบบประคับประคอง - จะเป็นการรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังในระยะแรก ด้วยการรับประทานยา ทำกายภาพบำบัด พร้อมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำวัน ถ้าอาการไม่ดีขึ้นเลย หรืออาการปวดไม่หายไปในเวลา 3 เดือน อาจพิจารณารักษาด้วยวิธีอื่น ๆ การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังแบบไม่ต้องผ่าตัด การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เพื่อลดอาการปวดหลังเรื้อรัง ลดอาการอักเสบและบวมของปมประสาทที่เกิดจากหมอนรองกระดูกกดทับหรือโพรงประสาทตีบ การฉีดยาข้อต่อฟาเซ็ตหรือเข้าเส้นประสาทฟาเซ็ต จะใช้การฉีดยาชาที่อาจผสมกับยาเสตียรอยด์ไปบริเวณข้อต่อฟาเซ็ตหรือเส้นประสาทฟาเซ็ตที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุที่ปวดหลังเรื้อรัง การใช้คลื่นความถี่วิทยุ หรือที่เรียกว่า Radiofrequency Ablation (RFA) ลดการอักเสบของข้อต่อกระดูกสันหลัง และบรรเทาอาการปวดบริเวณคอและหลังด้วยการใช้ความร้อนที่ได้จากคลื่นความถี่วิทยุจี้ตำแหน่งของข้อต่อกระดูก ข้อต่อเชิงกราน หรือเส้นประสาทที่เป็นสาเหตุของความปวด การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังแบบผ่าตัด จะทำในกรณีรักษาแบบวิธีที่ 1 และ 2 แล้วอาการไม่ดีขึ้น และมีอาการรุนแรงมากขึ้น การผ่าตัดหมอนรองกระดูกสันหลังผ่านกล้องเอ็นโดสโคป การผ่าตัดจะทำผ่านกล้องเอ็นโดสโคปความละเอียดสูงโดยสอดกล้องผ่านแผลเล็ก ๆ ทางผิวหนังเข้าไปยังกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นแนวทางการรักษาที่มีแผลผ่าตัดเล็ก อาการปวดแผลผ่าตัดน้อย ความเสี่ยงในการติดเชื้อต่ำ ลดการทำลายเนื้อเยื่อส่วนดีที่อยู่รอบบริเวณผ่าตัด และผู้ป่วยฟื้นตัวหลังผ่าตัดเร็ว หากคุณหรือคนใกล้ชิดมีอาการปวดหลังที่ถึงแม้อาการดูเหมือนปวดหลังธรรมดา แต่อาการปวดหลังเรื้อรังมานานไม่หายเสียที แนะนำว่าไม่ควรละเลยปล่อยไว้นานควรรีบทำการรักษา เพราะหากอาการเรื้อรังอาจนำไปสู่โรคกระดูกสันหลังรักษายาก ดังนั้นจึงไม่ควรมองข้ามไปค่ะ สำหรับใครที่มี ข้อสงสัย มีคำถามเพิ่มเติมกับทางศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อม และมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับ และคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมก่อนได้ตามข้อมูลที่ให้ไว้ได้เลยค่ะ ขอบคุณข้อมูลจาก : https://www.nakornthon.com/article/detail/ปวดหลังเรื้อรัง-อาการอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
  2. “โอ๊ย ๆ ทำไมถึงได้รู้สึกปวดหลังร้าวไปถึงเอวจังเลย” ส่วนใหญ่เรามักจะได้ยินเสียงบ่น ๆ เรื่องการปวดหลัง ปวดเอว ประมาณนี้มาจากผู้สูงวัย ซึ่งนับเป็นเรื่องปกติ เพราะเมื่อเราอายุเพิ่มมากขึ้นร่างกายก็ทรุดโทรมไปตามวัย แต่ก็มีบางคนที่อายุน้อย ๆ แต่กลับมีอาการปวดหลับบ่อย ๆ ปวดหลังร้าวลงขา ปวดหลังเรื้อรัง บางคนเคยใช้วิธีรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังนี้ ด้วยการกินยาคลายกล้ามเนื้อ หรือไปนวดเพื่อแก้อาการ แต่อาการปวดหลังก็ไม่ได้ดีขึ้นเลย เริ่มสงสัยว่าอาการปวดหลังที่เป็นอยู่นี่ เป็นแค่การปวดหลังธรรมดา ๆ หรือจะเป็นอาการปวดหลังที่นำไปสู่โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทหรือไม่ เพื่อคลายความสงสัย วันนี้เรานำความรู้ดี ๆ จากทางทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมาฝาก เกี่ยวกับอาการปวดหลังเรื้อรังเป็นอย่างไร? แบบไหนอันตราย ควรรีบพบแพทย์ด่วนไปดูข้อมูลพร้อมกันเลยค่ะ อาการปวดหลังเรื้อรัง สามารถเกิดขึ้นได้กับบุคคลทั่วไป และพบได้บ่อยมากขึ้น ทั้งจากพฤติกรรมการยืน นั่ง นอน อาชีพการทำงาน โดยคนส่วนใหญ่จะได้รับผลกระทบจากอาการปวดหลังบ้าง ซึ่งลักษณะการปวดหลังเรื้อรังนั้นสามารถเป็นได้ตั้งแต่การปวดแบบธรรมดาแต่ไม่รุนแรง ไปจนถึงอาการปวดแบบเฉียบพลัน แต่ก็มีหลายคนที่อาการปวดหลังเรื้อรังมีความรุนแรง กระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ถึงขั้นไม่สามารถทำงานได้ หรือมีอาการปวดหลังร้าวลงขา อาการชาตามมา อาจนำไปสู่โรคที่ร้ายแรงเกี่ยวข้องกับกระดูกสันหลัง เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้ หากปล่อยไว้นานอาจถึงขั้นเคลื่อนไหวไม่ได้ ระบบการขับถ่ายผิดปกติ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการตรวจและรักษาโดยทันที ปวดหลังเรื้อรังเป็นอย่างไร โดยปกติอาการปวดหลังจากกล้ามเนื้ออักเสบในบุคคลทั่วไปสามารถทุเลาได้เองในช่วงเวลา 2 สัปดาห์ และมักจะมีอาการค่อยๆ ดีขึ้น หลังจากได้รับการรักษา แต่สำหรับอาการปวดหลังเรื้อรั้งนั้นจะเป็นอาการปวดหลังที่ไม่ดีขึ้นภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ปวดหลังเป็นๆ หายๆ ปวดหลังอย่างต่อเนื่องมากกว่า 3 เดือน หรืออาการปวดหลังดังกล่าวไม่บรรเทามีแต่จะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุอาการปวดหลังเรื้อรัง อาการปวดหลังเรื้อรัง ที่มาจากปัญหาของกระดูกสันหลัง ได้แก่ - หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ซึ่งสามารถพบได้ทุกเพศ ทุกวัย แต่ปัจจุบันพบบ่อยที่สุดในกลุ่มวัยทำงาน เกิดจากการฉีกขาดของเปลือกหมอนรองกระดูก ทำให้เกิดอาการปวดหลังเรื้อรัง เวลาไอ จาม หรือเบ่งจะยิ่งปวด และหากส่วนเนื้อด้านในปลิ้นออกมากดทับเส้นประสาทซึ่งอยู่ด้านหลังหมอนรองกระดูก ก็จะทำให้มีอาการปวดหลังร้าวลงขาร่วมด้วย - กระดูกสันหลังเสื่อม เกิดจากความเสื่อมตามวัย ของข้อต่อกระดูกสันหลัง ทำให้มีกระดูกงอกหรือเคลื่อนมาทับเส้นประสาทส่งผลให้มีปวดหลังเรื้อรัง หรือปวดหลังร้าวจนเกิดอาการปวดขาตามมา ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ - กระดูกหลังเคลื่อน เป็นภาวะที่มีการเคลื่อนของกระดูกสันหลังข้อหนึ่งไปด้านหน้า หรือด้านหลังมากกว่าปกติ โดยส่วนมากมักพบการเคลื่อนของกระดูกสันหลังระดับเอวข้อที่ 4 และข้อที่ 5 เนื่องจากข้อกระดูกสันหลังส่วนนี้จะรับน้ำหนักส่วนใหญ่ของร่างกาย ซึ่งจะทำให้เกิดอาการปวดหลังเรื้อรัง มักเกิดในขณะที่มีการขยับหลังมาก เช่น การก้ม เงย หรือเดิน - โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ เกิดจากความเสื่อมของอวัยวะในกระดูกสันหลัง ทั้งหมอนรองกระดูก เส้นเอ็น และข้อต่อ เมื่อมีการเสื่อมอวัยวะเหล่านี้จะขยายขนาดขึ้นก็จะทำให้โพรงประสาทที่มีเส้นประสาทอยู่ด้านในถูกเบียดหรือกดทับได้ ทำให้เกิดอาการปวดหลังเรื้อรัง ซึ่งอาการปวดมักอยู่ที่ส่วนกลางของเอวและมักเป็นมากขึ้นในท่ายืน เดิน หรือเมื่อมีการแอ่นหลังไปด้านหลังมาก ๆ ปวดหลังเรื้อรังแบบไหนอันตราย ควรรีบพบแพทย์ - มีอาการปวดหลังเรื้อรังมานานเกินกว่า 3 เดือนขึ้นไป โดยอาการไม่บรรเทามีแต่จะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น - มีอาการปวดหลังร้าวลงขาติดต่อกันนาน 2 สัปดาห์ อาจเป็นข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง พร้อมทั้งอาจมีอาการขาชา กล้ามเนื้อขาอ่อนแรง - ปวดขณะเปลี่ยนอิริยาบถ ปวดรุนแรงมากตอนกลางคืน กระดกข้อเท้าไม่ได้ มีปวดขา ขาชาและขาอ่อนแรงชัดเจน ขาลีบเล็กลง เบื่ออาหารและน้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว ควบคุมการขับถ่ายไม่ได้หรือปัสสาวะไม่ออก การตรวจวินิจฉัยอาการปวดหลังเรื้อรัง สำหรับการตรวจวินิจฉัยอาการปวดหลังเรื้อรัง แพทย์จะสามารถวินิจฉัยได้จากการซักประวัติและตรวจร่างกายเป็นหลัก อาจมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันการวินิจฉัย ด้วยการตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ซึ่งสามารถตรวจพบความผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว สามารถบอกขอบเขตของโรคได้ ทำให้แพทย์สามารถวางแผนการรักษาโรคต่อไปได้ ให้ภาพคมชัด ละเอียด แยกความแตกต่างระหว่างเนื้อเยื่อได้อย่างชัดเจน ทำให้มีความถูกต้องแม่นยำในการวินิจฉัยโรคมากยิ่งขึ้น การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรัง การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรัง มีแนวทางการรักษาหลายวิธีขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ และโรคที่เป็น โดยแบ่งเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 1.การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังแบบประคับประคอง - จะเป็นการรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังในระยะแรก ด้วยการรับประทานยา ทำกายภาพบำบัด พร้อมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำวัน ถ้าอาการไม่ดีขึ้นเลย หรืออาการปวดไม่หายไปในเวลา 3 เดือน อาจพิจารณารักษาด้วยวิธีอื่น ๆ 2.การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังแบบไม่ต้องผ่าตัด - การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เพื่อลดอาการปวดหลังเรื้อรัง ลดอาการอักเสบและบวมของปมประสาทที่เกิดจากหมอนรองกระดูกกดทับหรือโพรงประสาทตีบ - การฉีดยาข้อต่อฟาเซ็ตหรือเข้าเส้นประสาทฟาเซ็ต จะใช้การฉีดยาชาที่อาจผสมกับยาเสตียรอยด์ไปบริเวณข้อต่อฟาเซ็ตหรือเส้นประสาทฟาเซ็ตที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุที่ปวดหลังเรื้อรัง - การใช้คลื่นความถี่วิทยุ หรือที่เรียกว่า Radiofrequency Ablation (RFA) ลดการอักเสบของข้อต่อกระดูกสันหลัง และบรรเทาอาการปวดบริเวณคอและหลังด้วยการใช้ความร้อนที่ได้จากคลื่นความถี่วิทยุจี้ตำแหน่งของข้อต่อกระดูก ข้อต่อเชิงกราน หรือเส้นประสาทที่เป็นสาเหตุของความปวด 3.การรักษาอาการปวดหลังเรื้อรังแบบผ่าตัด จะทำในกรณีรักษาแบบวิธีที่ 1 และ 2 แล้วอาการไม่ดีขึ้น และมีอาการรุนแรงมากขึ้น - การผ่าตัดหมอนรองกระดูกสันหลังผ่านกล้องเอ็นโดสโคป การผ่าตัดจะทำผ่านกล้องเอ็นโดสโคปความละเอียดสูงโดยสอดกล้องผ่านแผลเล็ก ๆ ทางผิวหนังเข้าไปยังกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นแนวทางการรักษาที่มีแผลผ่าตัดเล็ก อาการปวดแผลผ่าตัดน้อย ความเสี่ยงในการติดเชื้อต่ำ ลดการทำลายเนื้อเยื่อส่วนดีที่อยู่รอบบริเวณผ่าตัด และผู้ป่วยฟื้นตัวหลังผ่าตัดเร็ว - การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกสันหลังส่วนเอว หรือ TLIF จะรักษาในกรณีที่มีภาวะกระดูกสันหลังเคลื่อนเป็นการผ่าตัดที่แพทย์จะยึดตรึงกระดูกสันหลังเข้าด้วยกันผ่านทางแผลผ่าตัดขนาดเล็กบนผิวหนัง โดยใช้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์นำวิถี (O-arm Navigation) เข้ามาช่วยในการผ่าตัด แสดงตำแหน่งต่าง ๆ บริเวณที่ผ่าตัด ซึ่งทำให้ความแม่นยำในการใส่เครื่องมือเพิ่มมากถึง 99% - การฉีดซีเมนต์เสริมกระดูกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์นำวิถี (O-arm Navigation) เป็นการฉีดซีเมนต์ผ่านผิวหนัง ผ่านทางแผลเล็ก ๆ ที่มีขนาดราวหลอดกาแฟ เข้าไปเสริมกระดูกส่วนที่หักโดยไม่ต้องยึดสก สำหรับท่านใดที่กำลังรู้สึกทรมานกับอาการปวดหลังอยู่ มีอาการปวด ๆ หาย ๆ นานกว่า 3 เดือน จนกระทั่งมีอาการปวดหลังร้าวลงขา มีอาการชาตามมา และอาการปวดหลังเรื้อรัง อาการปวดไม่ดีขึ้นเลย หรือมีข้อมูลที่สงสัยอยากสอบถามในทางการรักษาเพิ่มเติม ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โดยความร่วมมือกับบำรุงราษฎร์เฮลท์เน็ตเวิร์ค มีความพร้อมและมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับ และคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมก่อนได้ตามข้อมูลที่ให้ไว้ได้เลยค่ะ ขอบคุณข้อมูลจาก : https://www.nakornthon.com/article/detail/ปวดหลังเรื้อรัง-อาการอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
  3. อาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ส่งผลกระทบต่อหลายส่วนในร่างกาย เช่นเกิดอาการที่หลัง จะมีอาการปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง สะโพก และมักปวดร้าวลงขา อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้า ซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด แต่ถ้าหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาทเกิดที่บริเวณกระดูกสันหลังส่วนคอ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดคอและร้าวลงแขน มีสาเหตุหลัก ๆ มาจากความเสื่อมของหมอนรองกระดูก และจากพฤติกรรมของเราที่เสี่ยงต่อหมอนรองกระดูก หากเข้าใจจะช่วยให้เราห่างไกลจากโรคนี้ได้ วันนี้เราได้นำความรู้จากทาง ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลรักษาโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมาฝากกัน เพื่อเป็นแนวทาง ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการยืน เดิน นอน นั่ง หรือยกของหนักด้วยท่าที่ถูกต้องเหมาะสม จะช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคที่ทำให้หลังพังลงได้ ไปรับความรู้เพิ่มเติมได้เลยค่ะ ในการใช้ชีวิตประจำวันของคนเรา มักหนีไม่พ้นอิริยาบถ ยืน เดิน นั่งและนอน และท่าทางเหล่านี้มีผลกระทบต่อโครงสร้างร่างกายเป็นอย่างมาก หากมีพฤติกรรมยืน เดิน นอน นั่งทำงานไม่ถูกท่า หรือยกของหนักด้วยท่าที่ไม่เหมาะสม อาการปวดเมื่อยล้าจากท่าเหล่านี้เมื่อปล่อยไว้นาน ๆ มักเป็นการสะสมความผิดปกติให้กับร่างกาย และก่อทำให้เกิดโรคในที่สุด โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับกระดูกสันหลัง อย่างโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เช่นนั้น การตระหนักถึงอิริยาบถที่ถูกต้อง จึงมีส่วนสำคัญให้เราห่างไกลโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้ ท่าเดิน ท่ายืน ท่าเดินที่ถูกนั้น สังเกตง่ายๆ คือตอนลงน้ำหนักขาด้านไหน กล้ามเนื้อขาด้านนั้นต้องหดตัว ส่วนการยืนที่ถูกวิธีอาจจะต้องฝึกให้มีความคุ้นชิน เริ่มต้นจาก เท้าทั้งสองข้าง กางอยู่ในระดับเดียวกันกับสะโพก ปลายเท้าทั้งสองข้างชี้ไปทางด้านหน้า การลงน้ำหนักให้ลงฝ่าเท้าทั้งสองข้างเท่าๆ กัน โดยน้ำหนักจะลงด้านนอกของฝ่าเท้า และเข่าเอียงไปข้างหน้าเล็กน้อย เพื่อไม่ให้แรงกดไปรวมกันที่หลัง ลำตัวยืดตรง ไม่ควรยืนในท่าเดียวนาน ๆ ควรขยับตัวเปลี่ยนท่าบ่อย ๆ หรือยืนลงน้ำหนักบนขาข้างใดข้างหนึ่งสลับกัน หรือสลับเท้าวางพักเท้าบนโต๊ะเล็ก ๆ ที่สูงประมาณ 1 คืบ หลีกเลี่ยงการสวมรองเท้าส้นสูงมากกว่า 1 นิ้ว ท่านั่ง หากเลือกเก้าอี้ได้ ให้เลือกที่เหมาะสมกับสรีระของเรา สามารถปรับระดับสูงต่ำได้ มีที่พักแขน และมีพนักพิง โดยท่านั่งที่ถูกต้องนั้น ต้องให้ก้นชิดกับพนักพิง เวลานั่งเก้าอี้เข่าต้องอยู่ระดับเดียวกันกับสะโพก หรือต้องต่ำกว่าเล็กน้อย เพื่อลดความตึงส่วนล่าง ไม่นั่งก้มตัวหรือเอนตัวไปด้านหลังมากเกินไป เท้าวางกับพื้นพอดีเต็มเท้า ข้อเท้าไม่ตกหรือลอยจากพื้น ยืดลำตัว อาจใช้หมอนรองดันที่เอวเพื่อให้หลังช่วงล่างแอ่นเล็กน้อย และเวลานั่งทำงานใช้คอมพิวเตอร์ ข้อมือต้องอยู่ระดับเดียวกับข้อศอก หากเก้าอี้มีที่พักแขนก็ยิ่งทำให้กล้ามเนื้อไม่ต้องทำงานหนักมากไป ท่านอน ท่านอนหงายนั้นน้ำหนักตัวเราจะกระจายไปทั้งแผ่นหลัง ไม่มีการกดทับที่ใดเป็นพิเศษ กระดูกสันหลังก็อยู่ในแนวตรง เวลานอนควรมีหมอนเล็ก ๆ รองใต้เข่า เพื่อให้สะโพกงอเล็กน้อย หมอนหนุนศีรษะต้องหนุนตรงคอ ศีรษะต้องอยู่แนวเดียวกันกับลำตัว บางท่านที่มีปัญหาเรื่องการหายใจสามารถนอนตะแคงกอดหมอนข้าง โดยขาล่างเหยียดตรง ขาบนงอก่ายบนหมอนข้าง ไม่ควรนอนคว่ำ และนอนคุดคู้ เพราะจะทำให้กระดูกสันหลังแอ่น เสื่อม ทำให้ปวดหลังมากขึ้น ในการลุกจากเตียงไม่ควรลุกขึ้นมาทันที หรือสปริงตัวลุกขึ้นมาตรง ๆ เพราะจะต้องใช้กล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้องมาก อาจทำให้ปวดหลังได้ หากนอนหงายอยู่ให้งอเข่า ตะแคงตัว ใช้ข้อศอกและมือยันตัวขึ้นในขณะที่ห้อยเท้าทั้ง 2 ข้าง ลงจากเตียง พร้อมดันตัวขึ้นมาในท่านั่งตรงได้ โดยให้เท้าวางราบบนพื้นแล้วจึงค่อยลุกยืน ท่ายกหรือย้ายของ การยกของในท่าที่ไม่ถูกต้องและหนักเกินไปเป็นสาเหตุหลักของอาการปวดหลัง เพื่อลดอาการบาดเจ็บที่จะเกิดกับกระดูกสันหลังส่วนล่างได้ ควรยกของหรือก้มให้ถูกท่า ในกรณีที่ของวางอยู่ต่ำกว่าระดับสะโพก ต้องพยายามให้หลังตรงอยู่ตลอดเวลาที่ยกของ ไม่ควรก้มหลังยกสิ่งของในท่าที่เข่าเหยียดตรงหรือบิดเอี้ยวตัว โดยให้ยืนหลังตรง ขากางออกเล็กน้อย งอเข่า ย่อตัวลงจนกระทั่งมาอยู่ในท่านั่งยอง ๆ จากนั้นหยิบสิ่งของที่ต้องการ ถ้าของนั้นหนักต้องอุ้มของชิ้นนั้นชิดแนบลำตัว และค่อยๆ ลุกขึ้นด้วยกำลังขา โดยให้หลังตรงอยู่ตลอดเวลา เมื่อต้องถือสิ่งของ 2 ชิ้น ให้ถือข้างละ 1 ชิ้น เพื่อสร้างความสมดุลและไม่ทำให้หลังข้างใดข้างหนึ่งทำงานหนักเกินไป เพียงแค่หันมาใส่ใจท่าเหล่านี้กันสักนิด นอกจากจะช่วยเสริมบุคลิกแล้ว ยังลดอาการปวดเมื่อย และที่สำคัญควรหมั่นออกกำลังกาย ลดพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ก็จะทำให้ห่างไกลโรคเกี่ยวกับกระดูกสันหลังได้อีกด้วย สำหรับผู้มีปัญหาหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท หรือมีข้อมูลที่อยากสอบถามเพิ่มเติม ในเรื่องเกี่ยวกับอาการที่เกี่ยวกับกระดูกสันหลัง ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อม และมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับ และคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามหรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : https://www.nakornthon.com/article/detail/ยืน-เดิน-นั่ง-นอน-ให้ไกลจากหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
  4. เชื่อว่าหลายคนคงเคยมีประสบการณ์ ของการปวดคอและปวดหลังส่วนบนกันมาบ้าง วิธีแก้ไขเบื้องต้นที่ทุกคนนิยมทำกันก็มีหลายวิธี เช่น การนวดด้วยสมุนไพร ทำท่ากายบริหารต้นคอ ใช้แผ่นประคบร้อน ประคบเย็นด้วยน้ำแข็ง และทานยาแก้ปวด หากมีอาการปวดคอ เล็ก ๆ น้อย ๆ ทำวิธีที่ว่ามาทั้งหมดนี้อาการปวดคอก็อาจจะดีขึ้น แต่ก็มีบางคนที่ยังคงมีอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน ทั้งที่ทำตามทุกวิธีที่กล่าวมาแล้ว อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนที่เป็นก็ไม่ดีขึ้นเลย จนเริ่มมีผลกระทบต่อคุณภาพการใช้ชีวิตประจำวัน อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เกิดขึ้นจากสาเหตุอะไรกันแน่ หากไม่รีบรับการรักษา อาการจะมีความรุนแรงมากหรือไม่? วันนี้เรามีความรู้ดี ๆ จากทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมาฝากกัน เพื่อช่วยให้คุณได้ทำความเข้าใจ รู้ถึงแนวทางการแก้ไข เพื่อจะได้รีบทำการรักษาแต่เนิ่น ๆ ก่อนที่อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนเรื้อรังที่เป็นอยู่ จะลุกลามบานปลายจนอาจทำให้การรักษาทำได้ยากขึ้นนั่นเองค่ะ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
  5. การนอนไม่ถูกท่า การนั่งทำงานอย่างไม่ถูกลักษณะ หรือการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา สิ่งเหล่านี้อาจทำให้คุณมีอาการปวดคอ หรือปวดหลังได้ บางคนมีอาการปวดคอ ปวดร้าวมาปวดหลังส่วนล่าง หรือปวดหลังส่วนบน ก็ยังมองข้ามไม่ใส่ใจ คิดว่าเป็นเรื่องเล็ก ๆ กินยาแก้ปวดเดี๋ยวก็หาย แต่เมื่อนานไปอาการปวดกลับไม่ดีขึ้นเลย จนสร้างความวิตกกังวลใจเพราะอาการปวดเริ่มทวีความรุนแรงขึ้น จนกระทั่งเริ่มส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ความจริงอาการปวดหลัง เป็นปัญหาสุขภาพของทุกอาชีพ สาเหตุเกิดจากอะไร วิธีใดสามารถบรรเทาอาการปวดหลังได้บ้าง ? เพื่อไขข้อสงสัย ทางเราได้นำความรู้ที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับอาการปวดคอ ปวดหลังที่เรื้อรังปวดไม่หายสักที จากทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มาฝากกัน ไปรับข้อมูลเพิ่มเติมพร้อมกันตอนนี้ได้เลยค่ะ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ อาการปวดคอ ปวดหลัง ถือเป็นอาการที่ดูเหมือนจะธรรมดา แต่ก็มีปัญหาใหญ่และอันตรายซ่อนอยู่ จึงไม่ควรมองข้าม เพราะหากปล่อยไว้นานให้กลายเป็นการเจ็บปวดเรื้อรัง ถึงตอนนั้นอาจทำให้อาการรุนแรงรักษายากขึ้น แนะนำว่าไม่ควรชะล่าใจหรือปล่อยทิ้งไว้ ควรเข้าพบแพทย์เพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้องตั้งแต่ระยะอาการเริ่มแรก ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
  6. โรคฮิตของคนหนุ่มสาววัยทำงานที่นั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ ที่มักจะเป็นกัน นอกจากปวดหลังแล้ว หนึ่งในนั้นก็คืออาการปวดคอ บางคนใช้วิธีทำท่ากายบริหารต้นคอเช่น ก้ม เงยศีรษะช้า ๆ กลับมาหน้าตรง ซึ่งเป็นอีกหนึ่งท่ากายบริหาร ที่ช่วยเพิ่มการเคลื่อนไหวของคอและ เพิ่มความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อบริเวณต้นคอและข้อต่อของคอให้แข็งแรงขึ้น บางคนทำท่าบริหารแล้วช่วยลดอาการปวดคอลงได้ แต่หากเพื่อน ๆ คนไหนมีอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนอยู่เป็นประจำทำอย่างไรก็ไม่หาย เลือกทำมาแล้วทุกวิธีการ ทั้งนวด ทั้งประคบร้อน ประคบเย็น ร่วมกับกินยาแก้ปวด อาการปวดคอก็ยังไม่ดีขึ้น ยังมีอาการปวดคอร่วมกับปวดหลังส่วนบนเช่นนี้ ไม่ควรนิ่งนอนใจ หรือปล่อยทิ้งไว้ให้อาการเรื้อรัง เพราะนี่อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงโรคร้ายแรงได้ ! เพื่อคลายข้อสงสัยให้เพื่อน ๆ เรามีข้อมูลดี ๆ จากทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมาฝาก ไปรับข้อมูลความรู้เพิ่มเติมพร้อมกันได้เลยค่ะ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ รูปแบบใหม่ของการให้บริการทางการแพทย์ ของบำรุงราษฎร์ที่เรียกว่า บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิรก์ คือการนำองค์ความรู้ทางการแพทย์ บุคลากรที่มีประสบการณ์เทคโนโลยีของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ที่ได้สั่งสมมากว่า 40 ปี มาร่วมมือกับ โรงพยาบาลนครธน โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันให้บริการทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งเทคโนโลยีการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ทันสมัยเพื่อผลการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเป็นสำคัญ พร้อมได้รับการรักษาในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ หากเพื่อน ๆ กำลังมีอาการปวดคอ หรือปวดหลังส่วนบน แล้วมีความกังวลใจ แนะนำว่าควรรีบมาพบแพทย์ เพื่อให้วินิจฉัยหาสาเหตุ เพื่อทำการรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ เพราะหากปล่อยไว้นานอาจเรื้อรังรักษายาก ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับ และคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
  7. วัยทำงานหลาย ๆ คน ที่ต้องนั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือจ้องโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน ๆ คงต้องเคยมีประสบการณ์อาการปวดคอ ปวดหลัง หรือปวดหลังส่วนบนกันมาบ้าง ไม่มากก็น้อย บางคนมีอาการปวดแบบเป็น ๆ หาย ๆ ไปนวดบำบัด หรือกินยาแก้ปวดเดี๋ยวสักพักก็ดีขึ้น แต่บางคนปวดคอ ปวดหลัง จนเรื้อรัง ปวดผ่านมาเป็นเดือนแล้วยังไม่ดีขึ้นเลย อาการปวดคอ ปวดหลัง ยิ่งกลับมากขึ้น ไม่ว่าจะลุก ยืน นอน นั่งก็ปวดไปหมด จนเริ่มส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อไขข้อข้องใจเรื่องนี้ ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีข้อมูลมาฝากกันค่ะ ถึงเรื่องอาการปวดคอ ปวดหลัง ปวดหลังส่วนบน ว่าอาการปวดแบบนี้สาเหตุเกิดจากโรคอะไร? หรืออาการปวดแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาที่คุณต้องรีบรักษาโดยด่วน! ก่อนที่อาการจะเรื้อรังจนรักษายาก มาดูกันค่ะ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ รูปแบบใหม่ของการให้บริการทางการแพทย์ ของบำรุงราษฎร์ที่เรียกว่า บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิรก์ คือการนำองค์ความรู้ทางการแพทย์ บุคลากรที่มีประสบการณ์เทคโนโลยีของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ที่ได้สั่งสมมากว่า 40 ปี มาร่วมมือกับ โรงพยาบาลนครธน โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันให้บริการทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งเทคโนโลยีการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ทันสมัยเพื่อผลการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเป็นสำคัญ พร้อมได้รับการรักษาในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ หากท่านกำลังมีอาการปวดคอ ปวดหลัง หรือปวดหลังส่วนบนอยู่ แนะนำว่าควรรีบมาพบแพทย์ เพื่อให้วินิจฉัยหาสาเหตุ หากปล่อยให้ปวดเรื้อรังไปนานเข้า อาจจะส่งกระทบต่อการดำเนินชีวิต ควรรีบทำการรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ เพื่อให้สามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันตามปกติได้โดยเร็ว ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้ได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
  8. ปัญหาสุขภาพร่างกาย สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย ซึ่งมนุษย์เรามิอาจหลีกเลี่ยงได้ ยิ่งพออายุมากขึ้นสารพัดโรคก็เริ่มถามหา การปวดหลังก็เช่นกัน เมื่อเกิดขึ้นกับใครแล้ว บางครั้งก็ทำให้คนนั้นได้รับความทุกข์ทรมานกับการปวดเป็นอย่างมาก ซึ่งอาการปวดหลังเกิดได้จากหลายสาเหตุด้วยกัน แต่ละอาการก็จะแตกต่างกันออกไป บางคนมีอาการปวดหลังรุนแรง ปวดมากจนไม่อาจขยับตัวได้ บางคนปวดหลังร้าวลงขาหรือปวดร้าวลงแขน และปวดบริเวณอื่น ๆ ร่วมด้วยยิ่งส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด และวิตกกังวลใจ จนทำให้อาการปวดโดยรวมยิ่งแย่หนักกว่าเดิม บทความนี้เรานำข้อมูลความรู้จากศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมาให้ความรู้กันค่ะ เมื่อมีอาการปวดหลัง หลายคนเลือกที่จะเมินเฉยกับอาการปวดนี้ หรือแค่หายาแก้ปวดมารับประทานเพื่อบรรเทาอาการ ข้อสังเกตสำคัญหากปวดหลังร่วมกับอาการร้าวลงขาหรือปวดคอร้าวลงแขน และปวดบริเวณอื่น ๆ ร่วมด้วย คงไม่ใช่แค่อาการปวดหลังธรรมดา เพราะอาการปวดหลังในแต่ละแบบนั้น อาจเป็นสัญญาณเตือนบ่งบอกความผิดปกติของร่างกายหรือโรคต่าง ๆ ได้ อาการปวดหลังแบบไหน บ่งบอกโรคอะไรได้บ้าง ปวดหลังแบบกว้างๆ ก้มหรือแอ่นหลังไม่ได้ – โรคกล้ามเนื้อหลังอักเสบเฉียบพลัน โรคนี้ไม่ได้เกิดหรือเกี่ยวข้องกับกระดูกสันหลังโดยตรง แต่เป็นที่กล้ามเนื้อหลังโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่เกิดจากการที่กล้ามเนื้อหลังถูกใช้งานมากเกินไป เกิดอุบัติเหตุโดนกระแทกที่หลัง การเล่นกีฬาอย่างหนัก จนทำให้กล้ามเนื้อหลังอักเสบอักเสบเฉียบพลันทันที โดยอาการที่พบจะปวดเกร็งหลัง ปวดตึงหลัง จนต้องแอ่นหลังตลอดเวลา รู้สึกปวดหลังแบบกว้างๆ ระบุตำแหน่งชัดเจนไม่ได้ รวมทั้งอาการยังคล้ายหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท แต่ไม่มีอาการปวดร้าวลงขา ปวดหลังร้าวลงขา ไอ จาม หรือเบ่งจะยิ่งปวด – โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เกิดจากเจลในหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้นออกมาไปกดทับเส้นประสาทไขสันหลัง หรือรากประสาท ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการก้มๆ เงยๆ ยกของหนัก นั่งทำงานอยู่ในท่านั่งเดิมเป็นเวลานาน แล้วไม่ค่อยได้เปลี่ยนอิริยาบถ รวมถึงความเสื่อมตามธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นอาการออฟฟิศซินโดรม ผู้ป่วยจะมีอาการมีอาการปวดหลังรุนแรง ปวดมากจนไม่อาจขยับตัวได้ ปวดหลังร้าวลงขา ปวดขณะไอ จาม รวมไปถึงอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น อาการชา ขาอ่อนแรง มีอาการผิดปกติในการควบคุมปัสสาวะและ อุจจาระ มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาแข็งเกร็ง เป็นต้น ปวดหลังแบบขัดๆ ภายในข้อ ปวดลึก ปวดเสียว – โรคกระดูกสันหลังเสื่อม มักพบบ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้หญิงอายุ 40 ปีขึ้นไป โรคกระดูกสันหลังเสื่อมนั้นเป็นภาวะที่กระดูกสันหลังทรุดตัว จากข้อต่อ Facet joint ที่ทำหน้าที่เชื่อมกระดูกชิ้นบนกับชิ้นล่างที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว เกิดเสื่อมลง เป็นผลให้ข้อกระดูกชิ้นบนกับชิ้นล่างอยู่ชิดกันมากเกินไป หากเป็นในระยะแรกมักไม่แสดงอาการ แต่ถ้าเมื่อใดที่ข้อต่อนั้นเสื่อมสภาพลงมากจนทำให้กระดูกสันหลังทรุดตัวลงเพิ่มมากขึ้น จะมีอาการปวดหลัง เมื่อใช้มือกดไปที่ข้อกระดูกสันหลังตรง ๆ จะรู้สึกปวดลึก ปวดเสียว และรู้สึกขัดๆ ภายในข้อ สามารถชี้ระบุตำแหน่งได้ชัดเจน หลังแข็งก้มหลังได้น้อยลง บางครั้งอาจเกิดกล้ามเนื้อหลังหดเกร็งค้าง จนนำไปสู่อาการปวดหลังจากกล้ามเนื้อหลังอักเสบได้ ปวดหลังส่วนล่าง ปวดร้าวลงสะโพก ก้น ต้นขา – โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน เป็นภาวะที่มีการเคลื่อนของกระดูกสันหลังข้อหนึ่งไปด้านหน้ามากกว่าปกติ โดยมักพบในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป เกิดจากข้อต่อกระดูกสันหลังเสื่อม อุบัติเหตุที่มีการกระแทกต่อกระดูกสันหลังโดยตรงจนทำให้ข้อเคลื่อน ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ ผู้ที่อ้วนลงพุง ผู้ที่ทำงานต้องก้มๆ เงยๆ เป็นประจำ และอาจเกิดจากติดเชื้อที่กระดูกสันหลัง เช่น วัณโรคกระดูกหลัง เป็นต้น โดยมีอาการปวดหลังส่วนล่าง ปวดมากเมื่อยืนหรือเดิน ผู้ที่มีกระดูกสันหลังเคลื่อนมากจะมี อาการปวดร้าวลงสะโพก ก้น ต้นขา แต่ถ้ากระดูกเคลื่อนไปโดนเส้นประสาทจะมีอาการขาชา และขาอ่อนแรงร่วมด้วย ปวดหลังเหนือบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง – โรคไต โรคนิ่ว โรคที่เกิดจากความผิดปกติภายใน เช่น โรคไต โรคนิ่วในถุงน้ำดี นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ หรือติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นต้น จนทำให้มีอาการปวดหลังบริเวณเหนือบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง ร่วมกับมีอาการปัสสาวะขุ่น แสบ ขัด มีไข้ นอกจากนี้โรคกระเพาะ ลำไส้ มดลูก ปีกมดลูก รังไข่ ก็ส่งให้เกิดอาการปวดหลังบริเวณนี้เช่นกัน แต่โรคเหล่านี้มักจะมีอาการปวดท้องควบคู่กันด้วย เจาะลึกถึงปัญหาการรักษาอาการปวดหลังอย่างตรงจุด ขั้นตอนรักษาอาการปวดหลัง ปวดคอ ของศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน แพทย์จะเลือกการผ่าตัดเป็นวิธีการสุดท้าย โดยจะใช้แนวทางการรักษาด้านอื่น ๆ ก่อนการผ่าตัดเสมอ (ยกเว้นในรายที่แพทย์พิจารณาว่ามีอาการรุนแรง) โดยพิจารณาแนวทางการรักษา เป็น 3 รูปแบบ 1.การรักษาแบบประคับประคอง โดยการรับประทานยา ทำกายภาพบำบัด พร้อมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำวัน ถ้าอาการไม่ดีขึ้นเลย หรืออาการปวดไม่หายไปในเวลา 3 เดือน อาจพิจารณารักษาด้วยวิธีที่ 2 และ 3 2.การรักษากระดูกสันหลังแบบไม่ต้องผ่าตัด - การฉีดยาสเตียรอยด์ เพื่อลดอาการปวด ลดอาการอักเสบและบวมของปมประสาทที่เกิดจากหมอนรองกระดูกกดทับหรือโพรงประสาทตีบ - การใช้คลื่นความถี่วิทยุเพื่อบำบัดปวดข้อต่อฟาเซ็ต ทำให้ลดการส่งสัญญาณปวดและลดอาการปวด - การฉีดยาข้อต่อฟาเซ็ตหรือเข้าเส้นประสาทฟาเซ็ต จะใช้การฉีดยาชาที่อาจผสมกับยาเสตียรอยด์ไปบริเวณข้อต่อฟาเซ็ตหรือเส้นประสาทฟาเซ็ตที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุที่ปวด 3.การรักษากระดูกสันหลังแบบผ่าตัด - การผ่าตัดโรคกระดูกสันหลังผ่านกล้องเอ็นโดสโคป การผ่าตัดจะทำผ่านกล้องเอ็นโดสโคปความละเอียดสูงโดยสอดกล้องผ่านแผลเล็ก ๆ ทางผิวหนังเข้าไปยังกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นแนวทางการรักษาแบบ “Minimally Invasive Spine Surgery” ที่มีแผลผ่าตัดเล็ก อาการปวดแผลผ่าตัดน้อย ความเสี่ยงในการติดเชื้อต่ำ ลดการทำลายเนื้อเยื่อส่วนดีที่อยู่รอบบริเวณผ่าตัด และผู้ป่วยฟื้นตัวหลังผ่าตัดเร็ว สามารถกลับบ้านได้ภายใน 24 ชั่วโมง - การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท - การผ่าตัดเปลี่ยนหมอนรองกระดูกคอเทียม ผ่าตัดโดยใช้กล้องไมโครสโคปเพื่อนำหมอนรองกระดูกต้นคอ ที่เคลื่อนทับเส้นประสาทอออก แล้วแทนที่ด้วยหมอนรองกระดูกสันหลังต้นคอเทียม - การผ่าตัดเชื่อมกระดูกสันหลังระดับเอวแบบผ่านทางรูออกเส้นประสาท พร้อมกับนำหมอนรองกระดูกออกทั้งหมดแล้วใส่หมอนรองกระดูกเทียม ใส่สกรูยึดระหว่างข้อและเศษกระดูก เพื่อให้เกิดการเชื่อมของกระดูก - การฉีดซีเมนต์เสริมกระดูกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์นำวิถี เป็นการฉีดซีเมนต์ผ่านผิวหนัง ผ่านทางแผลเล็ก ๆ ที่มีขนาดราวหลอดกาแฟ เข้าไปเสริมกระดูกส่วนที่หักโดยไม่ต้องยึดสกรู รูปแบบใหม่ของการให้บริการทางการแพทย์ ของบำรุงราษฎร์ที่เรียกว่า บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิรก์ คือการนำองค์ความรู้ทางการแพทย์ บุคลากรที่มีประสบการณ์เทคโนโลยีของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ที่ได้สั่งสมมากว่า 40 ปี มาร่วมมือกับ โรงพยาบาลนครธน โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันให้บริการทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งเทคโนโลยีการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ทันสมัยเพื่อผลการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเป็นสำคัญ พร้อมได้รับการรักษาในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ เมื่อมีอาการปวด ไม่ว่าปวดแบบธรรมดาหรือปวดแบบรุนแรง ก็ไม่ควรปล่อยไว้ให้เนิ่นนาน ควรรีบทำการรักษาแต่เนิ่น ๆ ทางศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน มีความพร้อมทุกด้านพร้อมให้บริการดูแลรักษาปัญหาสุขภาพให้กับคุณ เริ่มตั้งแต่การให้คำปรึกษา ตรวจวินิจฉัยเพื่อหาสาเหตุ และวางแผนการรักษาที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล โดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านค่ะ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน : https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่ามองข้ามอาการปวดหลัง-อาจเป็นสัญญาณเตือนบ่งบอกโรค
  9. อาการปวดหลัง อาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การยกของหนักเกินกำลัง การนั่ง การนอนที่ผิดท่า การออกกำลังกาย หรือแม้กระทั่งการสะพายกระเป๋าที่ใส่ของหนักในท่าเดิมซ้ำ ๆ เป็นประจำ ก็อาจเป็นสาเหตุทำให้ปวดหลังได้เช่นกัน และอาการปวดหลัง ก็สามารถบ่งบอกถึงโรคต่าง ๆ ที่คุณกำลังเป็นอยู่ได้ วันนี้เรามีข้อมูลแบบเจาะลึกเกี่ยวกับการรักษาอาการปวดหลัง จากศูนย์กระดูกสันหลังของทางโรงพยาบาลนครธนมาฝากกันค่ะ ปวดหลังแบบไหน บ่งบอกโรคอะไรได้บ้าง? มาดูกันเลย เมื่อมีอาการปวดหลัง หลายคนเลือกที่จะเมินเฉยกับอาการปวดนี้ หรือแค่หายาแก้ปวดมารับประทานเพื่อบรรเทาอาการ ข้อสังเกตสำคัญหากปวดหลังร่วมกับอาการร้าวลงขาหรือปวดคอร้าวลงแขน และปวดบริเวณอื่น ๆ ร่วมด้วย คงไม่ใช่แค่อาการปวดหลังธรรมดา เพราะอาการปวดหลังในแต่ละแบบนั้น อาจเป็นสัญญาณเตือนบ่งบอกความผิดปกติของร่างกายหรือโรคต่าง ๆ ได้ อาการปวดหลังแบบไหน บ่งบอกโรคอะไรได้บ้าง ปวดหลังแบบกว้างๆ ก้มหรือแอ่นหลังไม่ได้ – โรคกล้ามเนื้อหลังอักเสบเฉียบพลัน โรคนี้ไม่ได้เกิดหรือเกี่ยวข้องกับกระดูกสันหลังโดยตรง แต่เป็นที่กล้ามเนื้อหลังโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่เกิดจากการที่กล้ามเนื้อหลังถูกใช้งานมากเกินไป เกิดอุบัติเหตุโดนกระแทกที่หลัง การเล่นกีฬาอย่างหนัก จนทำให้กล้ามเนื้อหลังอักเสบอักเสบเฉียบพลันทันที โดยอาการที่พบจะปวดเกร็งหลัง ปวดตึงหลัง จนต้องแอ่นหลังตลอดเวลา รู้สึกปวดหลังแบบกว้างๆ ระบุตำแหน่งชัดเจนไม่ได้ รวมทั้งอาการยังคล้ายหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท แต่ไม่มีอาการปวดร้าวลงขา ปวดหลังร้าวลงขา ไอ จาม หรือเบ่งจะยิ่งปวด – โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เกิดจากเจลในหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้นออกมาไปกดทับเส้นประสาทไขสันหลัง หรือรากประสาท ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการก้มๆ เงยๆ ยกของหนัก นั่งทำงานอยู่ในท่านั่งเดิมเป็นเวลานาน แล้วไม่ค่อยได้เปลี่ยนอิริยาบถ รวมถึงความเสื่อมตามธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นอาการออฟฟิศซินโดรม ผู้ป่วยจะมีอาการมีอาการปวดหลังรุนแรง ปวดมากจนไม่อาจขยับตัวได้ ปวดหลังร้าวลงขา ปวดขณะไอ จาม รวมไปถึงอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น อาการชา ขาอ่อนแรง มีอาการผิดปกติในการควบคุมปัสสาวะและ อุจจาระ มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาแข็งเกร็ง เป็นต้น ปวดหลังแบบขัดๆ ภายในข้อ ปวดลึก ปวดเสียว – โรคกระดูกสันหลังเสื่อม มักพบบ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้หญิงอายุ 40 ปีขึ้นไป โรคกระดูกสันหลังเสื่อมนั้นเป็นภาวะที่กระดูกสันหลังทรุดตัว จากข้อต่อ Facet joint ที่ทำหน้าที่เชื่อมกระดูกชิ้นบนกับชิ้นล่างที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว เกิดเสื่อมลง เป็นผลให้ข้อกระดูกชิ้นบนกับชิ้นล่างอยู่ชิดกันมากเกินไป หากเป็นในระยะแรกมักไม่แสดงอาการ แต่ถ้าเมื่อใดที่ข้อต่อนั้นเสื่อมสภาพลงมากจนทำให้กระดูกสันหลังทรุดตัวลงเพิ่มมากขึ้น จะมีอาการปวดหลัง เมื่อใช้มือกดไปที่ข้อกระดูกสันหลังตรง ๆ จะรู้สึกปวดลึก ปวดเสียว และรู้สึกขัดๆ ภายในข้อ สามารถชี้ระบุตำแหน่งได้ชัดเจน หลังแข็งก้มหลังได้น้อยลง บางครั้งอาจเกิดกล้ามเนื้อหลังหดเกร็งค้าง จนนำไปสู่อาการปวดหลังจากกล้ามเนื้อหลังอักเสบได้ ปวดหลังส่วนล่าง ปวดร้าวลงสะโพก ก้น ต้นขา – โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน เป็นภาวะที่มีการเคลื่อนของกระดูกสันหลังข้อหนึ่งไปด้านหน้ามากกว่าปกติ โดยมักพบในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป เกิดจากข้อต่อกระดูกสันหลังเสื่อม อุบัติเหตุที่มีการกระแทกต่อกระดูกสันหลังโดยตรงจนทำให้ข้อเคลื่อน ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ ผู้ที่อ้วนลงพุง ผู้ที่ทำงานต้องก้มๆ เงยๆ เป็นประจำ และอาจเกิดจากติดเชื้อที่กระดูกสันหลัง เช่น วัณโรคกระดูกหลัง เป็นต้น โดยมีอาการปวดหลังส่วนล่าง ปวดมากเมื่อยืนหรือเดิน ผู้ที่มีกระดูกสันหลังเคลื่อนมากจะมี อาการปวดร้าวลงสะโพก ก้น ต้นขา แต่ถ้ากระดูกเคลื่อนไปโดนเส้นประสาทจะมีอาการขาชา และขาอ่อนแรงร่วมด้วย ปวดหลังเหนือบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง – โรคไต โรคนิ่ว โรคที่เกิดจากความผิดปกติภายใน เช่น โรคไต โรคนิ่วในถุงน้ำดี นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ หรือติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นต้น จนทำให้มีอาการปวดหลังบริเวณเหนือบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง ร่วมกับมีอาการปัสสาวะขุ่น แสบ ขัด มีไข้ นอกจากนี้โรคกระเพาะ ลำไส้ มดลูก ปีกมดลูก รังไข่ ก็ส่งให้เกิดอาการปวดหลังบริเวณนี้เช่นกัน แต่โรคเหล่านี้มักจะมีอาการปวดท้องควบคู่กันด้วย เจาะลึกถึงปัญหาการรักษาอาการปวดหลังอย่างตรงจุด ขั้นตอนรักษาอาการปวดหลัง ปวดคอ ของศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน แพทย์จะเลือกการผ่าตัดเป็นวิธีการสุดท้าย โดยจะใช้แนวทางการรักษาด้านอื่น ๆ ก่อนการผ่าตัดเสมอ (ยกเว้นในรายที่แพทย์พิจารณาว่ามีอาการรุนแรง) โดยพิจารณาแนวทางการรักษา เป็น 3 รูปแบบ 1.การรักษาแบบประคับประคอง โดยการรับประทานยา ทำกายภาพบำบัด พร้อมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำวัน ถ้าอาการไม่ดีขึ้นเลย หรืออาการปวดไม่หายไปในเวลา 3 เดือน อาจพิจารณารักษาด้วยวิธีที่ 2 และ 3 2.การรักษากระดูกสันหลังแบบไม่ต้องผ่าตัด - การฉีดยาสเตียรอยด์ เพื่อลดอาการปวด ลดอาการอักเสบและบวมของปมประสาทที่เกิดจากหมอนรองกระดูกกดทับหรือโพรงประสาทตีบ - การใช้คลื่นความถี่วิทยุเพื่อบำบัดปวดข้อต่อฟาเซ็ต ทำให้ลดการส่งสัญญาณปวดและลดอาการปวด - การฉีดยาข้อต่อฟาเซ็ตหรือเข้าเส้นประสาทฟาเซ็ต จะใช้การฉีดยาชาที่อาจผสมกับยาเสตียรอยด์ไปบริเวณข้อต่อฟาเซ็ตหรือเส้นประสาทฟาเซ็ตที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุที่ปวด 3.การรักษากระดูกสันหลังแบบผ่าตัด - การผ่าตัดโรคกระดูกสันหลังผ่านกล้องเอ็นโดสโคป การผ่าตัดจะทำผ่านกล้องเอ็นโดสโคปความละเอียดสูงโดยสอดกล้องผ่านแผลเล็ก ๆ ทางผิวหนังเข้าไปยังกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นแนวทางการรักษาแบบ “Minimally Invasive Spine Surgery” ที่มีแผลผ่าตัดเล็ก อาการปวดแผลผ่าตัดน้อย ความเสี่ยงในการติดเชื้อต่ำ ลดการทำลายเนื้อเยื่อส่วนดีที่อยู่รอบบริเวณผ่าตัด และผู้ป่วยฟื้นตัวหลังผ่าตัดเร็ว สามารถกลับบ้านได้ภายใน 24 ชั่วโมง - การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท - การผ่าตัดเปลี่ยนหมอนรองกระดูกคอเทียม ผ่าตัดโดยใช้กล้องไมโครสโคปเพื่อนำหมอนรองกระดูกต้นคอ ที่เคลื่อนทับเส้นประสาทอออก แล้วแทนที่ด้วยหมอนรองกระดูกสันหลังต้นคอเทียม - การผ่าตัดเชื่อมกระดูกสันหลังระดับเอวแบบผ่านทางรูออกเส้นประสาท พร้อมกับนำหมอนรองกระดูกออกทั้งหมดแล้วใส่หมอนรองกระดูกเทียม ใส่สกรูยึดระหว่างข้อและเศษกระดูก เพื่อให้เกิดการเชื่อมของกระดูก - การฉีดซีเมนต์เสริมกระดูกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์นำวิถี เป็นการฉีดซีเมนต์ผ่านผิวหนัง ผ่านทางแผลเล็ก ๆ ที่มีขนาดราวหลอดกาแฟ เข้าไปเสริมกระดูกส่วนที่หักโดยไม่ต้องยึดสกรู รูปแบบใหม่ของการให้บริการทางการแพทย์ ของบำรุงราษฎร์ที่เรียกว่า บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิรก์ คือการนำองค์ความรู้ทางการแพทย์ บุคลากรที่มีประสบการณ์เทคโนโลยีของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ที่ได้สั่งสมมากว่า 40 ปี มาร่วมมือกับ โรงพยาบาลนครธน โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันให้บริการทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งเทคโนโลยีการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ทันสมัยเพื่อผลการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเป็นสำคัญ พร้อมได้รับการรักษาในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ เมื่อมีอาการปวดหลังตามตำแหน่งต่าง ๆ ไม่ควรนิ่งนอนใจ เพราะการปวดหลังอาจมีหลายสาเหตุ ดังนั้นเมื่อมีสัญญาณเตือนอาการเหล่านี้ ควรเริ่มป้องกันและค้นหาต้นตอสาเหตุคือสิ่งที่ดีที่สุด และเมื่อมีอาการแล้วก็ไม่ควรปล่อยไว้นานจนเรื้อรัง เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนถึงโรคร้ายแรงได้ ควรรีบนำมาปรึกษาแพทย์เฉพาะทางด้านโรคกระดูกสันหลัง ของศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่ามองข้ามอาการปวดหลัง-อาจเป็นสัญญาณเตือนบ่งบอกโรค
  10. หากคุณกำลังมีอาการปวดคอ ปวดหลังส่วนบนเกิดขึ้นหลังจากยกของหนักหรือเล่นกีฬา อาจเกิดจากกล้ามเนื้ออักเสบ ถ้าหากอาการที่เป็นอยู่ไม่สามารถหายได้เองหรือเป็นเกิน 2 - 3 อาทิตย์ขึ้นไป อย่าปล่อยทิ้งไว้จนอาการเรื้อรัง ควรหาสาเหตุที่แน่ชัด เพื่อการรักษาที่ตรงจุดและถูกวิธี หากคุณมีอาการเหล่านี้อยู่ วันนี้เรามีข้อมูลดี ๆ จากทางศูนย์กระดูกสันหลังโรงพยาบาลนครธนมาฝากค่ะ เพื่อให้คุณได้หมั่นสังเกตตัวเองว่า เวลาปวดนั้นรู้สึกปวดแบบใด เพราะลักษณะอาการปวดคอ ปวดหลังส่วนบนนั้น สามารถเป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยโรคได้ ดังนี้ อาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน เป็นอาการที่พบได้บ่อยและสร้างปัญหาให้แก่คนส่วนใหญ่ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องเคยมีประวัติการ ปวดอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ส่วนใหญ่มักเกิดจากท่าทางการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ และโรค เกี่ยวกับกระดูกที่ทำให้เกิดอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนได้ สาเหตุของอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน - อาการบาดเจ็บหลังเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย กล้ามเนื้อเกิดการฉีกขาด - การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป - ข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนคอเสื่อม - หมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท วิธีดูแลและบรรเทาอาการปวดคอด้วยตนเองเบื้องต้น - พยายามนั่งหลังตรง - ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรือเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ - นวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการปวด - ประคบร้อน หรือเย็น - รับประทานยาบรรเทาอาการปวด ปวดคอแบบไหนควรรีบมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย ถึงแม้ว่าอาการปวดอาจต้องใช้เวลากว่าอาการจะทุเลาลง แต่บางครั้งก็อาจมีอาการที่เป็นสัญญาณเตือนว่าควรรีบพบแพทย์ทันที ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดคอไม่ทุเลาลงภายใน 2-3 วัน หรือมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถทนได้จนรบกวนกิจวัติประจำวัน (ลุก นั่ง ยืน เดิน) - มีอาการปวดรุนแรง ปวดรุนแรงแบบฉับพลัน แบบไม่ปกติ - อาการปวดไม่หายขาดมานานกว่า 3 เดือน - อาการปวดคอร่วมกับ อาการปวดร้าวลงแขน แขนชาหรืออ่อนแรง - มีปัญหาในการเดิน เช่น ทรงตัวได้ไม่ดี เดินลำบาก ขาเกร็งแข็ง - มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบน แพทย์จะทำการซักประวัติอาการ ระยะเวลา พร้อมทำการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด และอาจให้ผู้ป่วยเข้ารับการเอกซเรย์ และ/หรือตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) รวมถึงวัดการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย โดยมีแนวทางการรักษาประกอบด้วย การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยไม่ต้องผ่าตัด ได้แก่ 1.การรักษาแบบประคับประคอง การรับประทานยา การนอนพัก การให้ออกกำลังกายแบบใช้ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อที่คอเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และการออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่คอ มักเป็นวิธีที่ใช้เริ่มต้นในการรักษา ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ชัดเจนว่าต้องได้รับการรักษาโดยวิธีอื่น 2.การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงกระดูกสันหลัง การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง เป็นยาที่ผสมระหว่างคอร์ติโคสเตียรอยด์และยาชา ฉีดเข้าไปในโพรงกระดูกสันหลังหรือใกล้กับบริเวณที่มีอาการปวด จะช่วยลดความปวดจากการอักเสบ และช่วยในการวินิจฉัยตำแหน่งที่เป็นต้นเหตุของอาการปวดได้ การรักษาวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบประคับประคองแล้ว แต่อาการไม่ดีขึ้น หรือมีอาการปวดจากการที่เส้นประสาทโดนรบกวน ทั้งนี้การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนด้วยวิธีนี้จะให้ประสิทธิผลดีที่สุดเมื่อทำร่วมกับกายภาพบำบัด หรือโปรแกรมการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและคอ สำหรับผู้ป่วยที่อาการปวดบรรเทาลงมากแล้ว การรักษาเพิ่มเติมหรือการผ่าตัดอาจไม่จำเป็นก็ได้ การรักษาอาการปวดคอและปวดหลังส่วนบนโดยการผ่าตัด ได้แก่ 1.การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกต้นคอจากทางด้านหน้า รักษาโรคหรือภาวะหมอนรองกระดูกต้นคอเลื่อนกดทับเส้นประสาท หรือทับไขสันหลังหรือหมอนรองกระดูกต้นคอที่เสื่อม ร่วมกับมีกระดูกงอกกดทับเส้นประสาท 2.การเปลี่ยนหมอนรองกระดูกเทียมส่วนคอ การที่นำหมอนรองกระดูกบริเวณส่วนคอ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดออก และนำหมอนรองกระดูกเทียมใส่เข้าไปแทนที่ นอกจากนี้ศัลยแพทย์สามารถตัดกระดูกส่วนที่งอกออกมา และขยายพื้นที่บริเวณหมอนรองกระดูกสันหลัง ซึ่งจะช่วยลดการกดทับของเส้นประสาทและรากประสาท 3.การผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscope) เป็นการผ่าตัดสำหรับโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน หรือ โรคโพรงประสาทตีบแคบ โดยการสอดกล้องเอ็นโดสโคปผ่านทางแผลผ่าตัดซึ่งมีขนาดเพียง 7.9 มิลลิเมตร โดยเลนส์ของเอ็นโดสโคปจะอยู่ที่ปลายกล้อง เปรียบเสมือนดวงตาของศัลยแพทย์อยู่ในตัวผู้ป่วย ทำให้แพทย์สามารถมองเห็นความผิดปกติได้อย่างชัดเจน แม่นยำ เลือกตัดออกเฉพาะส่วนที่ทำให้เกิดปัญหาได้โดยไม่ต้องตัดเลาะกล้ามเนื้อส่วนที่ดีออก มั่นใจในมาตรฐานศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลนครธน ร่วมมือกับ “บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิร์ก” ให้บริการเฉพาะทางสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกสันหลัง โดยทีมแพทย์และพยาบาลชำนาญเฉพาะทาง พร้อมด้วย เทคโนโลยีการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope อันทันสมัย ในราคาเข้าถึงได้ รูปแบบใหม่ของการให้บริการทางการแพทย์ ของบำรุงราษฎร์ที่เรียกว่า บำรุงราษฎร์ เฮลท์ เน็ตเวิรก์ คือการนำองค์ความรู้ทางการแพทย์ บุคลากรที่มีประสบการณ์เทคโนโลยีของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ที่ได้สั่งสมมากว่า 40 ปี มาร่วมมือกับ โรงพยาบาลนครธน โดยทั้งสองฝ่ายจะร่วมมือกันให้บริการทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด รวมทั้งเทคโนโลยีการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ทันสมัยเพื่อผลการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเป็นสำคัญ พร้อมได้รับการรักษาในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ เมื่อมีอาการปวดคอร่วมกับปวดหลังส่วนบน ไม่ควรนิ่งนอนใจ เพราะอาการปวดอาจมีหลายสาเหตุ ดังนั้นเมื่อมีสัญญาณเตือนอาการเหล่านี้ ควรเริ่มป้องกันและค้นหาต้นตอสาเหตุคือสิ่งที่ดีที่สุด และเมื่อมีอาการแล้วก็ไม่ควรปล่อยไว้นานจนเรื้อรัง เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนถึงโรคร้ายแรงได้ ควรรีบนำมาปรึกษาแพทย์เฉพาะทางด้านโรคกระดูกสันหลัง ของศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธนมีความพร้อมเป็นอย่างมากมีบุคลากรทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไว้รองรับและคอยช่วยเหลือให้คำปรึกษาท่านอยู่ สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลก่อนได้ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลนครธน https://www.nakornthon.com/article/detail/อย่าปล่อยให้อาการปวดคอ-ปวดหลังส่วนบน-เป็นปัญหากวนใจ
×
×
  • สร้างใหม่...