ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'อาการนอนหลับไม่สนิท'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 2 รายการ

  1. ร่างกายของเราเป็นเสมือนเครื่องจักรที่ต้องทำงาน 24 ชั่วโมง การนอนเหมือนกับให้เครื่องจักรได้หยุดพัก ร่างกายจะอาศัยช่วงเวลานอนหลับซ่อมแซมพักฟื้นตนเอง ปรับปรุงระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้มีประสิทธิภาพ หากเรามีอาการนอนหลับไม่สนิทจะส่งผลเสียต่อสุขภาพของเราได้ ดังนั้นหากคุณมีอาการนอนไม่หลับที่ยังไม่รุนแรง สามารถดูแลตัวเองและมีแนวทางในการรักษา 2 วิธี ได้แก่ การดูแลรักษาโดยแพทย์หรือการใช้ยา และการดูแลรักษาโดยไม่ต้องใช้ยาดังนี้ 2 วิธีในการรักษาอาการนอนหลับไม่สนิท 1. การรักษาโดยแพทย์หรือการใช้ยา การรักษาโรคนอนไม่หลับโดยวิธีทางการแพทย์จะแบ่งออกเป็นการรักษาด้วยการใช้ยา และการบำบัดรักษาทางการแพทย์ สำหรับการใช้ยา จะสั่งยาโดยแพทย์เท่านั้น ซึ่งเป็นยาที่ใช้เพื่อเพิ่มระดับฮอร์โมนเมลาโทนิน หรือยารักษาอาการทางจิต ช่วยผ่อนคลายและลดอาการวิตกกังวล ทำให้นอนหลับง่ายและหลับสนิท ส่วนการบำบัดรักษาทางการแพทย์ เป็นการรักษาเพื่อให้เกิดภาวะผ่อนคลาย เช่น ดนตรีบำบัด วารีบำบัด การบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม 2. การดูแลรักษาโดยไม่ต้องใช้ยา · จัดการกับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการนอนหลับ เช่น เรื่องสุขลักษณะการนอน ห้องนอนควรมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก อุณหภูมิเหมาะสม เงียบ · ทำกิจกรรมที่ช่วยให้ผ่อนคลายก่อนนอน หลักเลี่ยงเรื่องที่ส่งผลให้เกิดความเครียด และทำให้รู้สึกตื่นตัว เช่น เล่นเกมส์ เล่นโทรศัพท์มือถือ · ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนเป็นส่วนประกอบในช่วงเย็น เพราะคาเฟอีนจะส่งผลให้นอนไม่หลับ · เมื่อเข้านอนแล้วแต่ไม่สามารถนอนหลับได้ในเวลาประมาณ 20 นาที ให้ลุกขึ้นจากเตียงไปทำกิจกรรมที่สบายๆ และผ่อนคลาย แล้วกลับไปนอนใหม่อีกครั้งเมื่อง่วง · หมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การออกกำลังจะทำให้นอนหลับได้ง่ายขึ้น · เข้านอน-ตื่นนอนให้เป็นเวลา · หลีกเลี่ยงการงีบหลับในตอนกลางวัน · งดดื่มเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ แม้เครื่องดื่มเหล่านี้จะทำให้นอนหลับง่ายแต่จะตื่นบ่อย ทำให้พักผ่อนไม่เพียงพอ · งดสูบบุหรี่ และสารเสพติด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นหากคุณมีอาการนอนหลับไม่สนิท มานานกว่า 1 เดือน จะส่งผลกระทบต่ออารมณ์และการทำงานได้ ดังนั้นควรรีบไปพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพือหาวิธีในการรักษาซึ่งในการรักษาโรคนอนไม่หลับ ทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างตัวผู้ป่วยเองและแพทย์ เพื่อหาสาเหตุ ผลกระทบและวิธีที่จะใช้ในการรักษาที่ดีต่อตัวผู้ป่วยมากที่สุดได้ค่ะ
  2. อาการนอนหลับไม่สนิท หรือโรคนอนไม่หลับ (Insomnia) คือภาวะที่ผู้ป่วยมีอาการนอนไม่หลับ นอนหลับยาก และใช้เวลานอนนานกว่า 20 นาทีถึงจะหลับได้ ซึ่งโรคนี้สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศ ทุกวัย แต่มักพบมากในผู้หญิงและคนชรา ซึ่งการนอนไม่หลับส่งผลให้เกิดการสูญเสียสมรรถภาพในการทำงาน อ่อนเพลีย ขาดสมาธิ และทำให้ไม่สดชื่นเวลาตื่นนอน ซึ่งเราสามารถจัดระดับความรุนแรงของโรคนอนไม่หลับออกมาได้ดังนี้ ความรุนแรงของโรคนอนไม่หลับ หรือการที่มีอาการนอนหลับไม่สนิท สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ 1.อาการนอนไม่หลับชั่วคราว (Transient insomnia) มักพบในช่วงการเปลี่ยนแปลงชีวิตประจำวัน สิ่งแวดล้อมที่ไม่คุ้นชิน หรืออาจเกิดจากอาการ Jet lag เมื่อเดินทางข้ามเส้นแบ่งเวลาโลก (Time zone) 2.อาการนอนไม่หลับระยะสั้น (Short-term insomnia) มักเกิดเพียง 2-3 วันจนถึง 3 สัปดาห์ อาจพบได้เนื่องจากเกิดภาวะเครียด 3.อาการนอนไม่หลับเรื้อรัง (Long-term or Chronic insomnia) เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานานอาจเป็นเดือน หรือเป็นปี ซึ่งอาจเกิดผลจากการใช้ยา การเจ็บป่วยเรื้อรังไม่ว่าทางด้านร่างกายและจิตใจ หรืออาจเกิดจากความผิดปกติของการนอนหลับโดยตรง (Primary sleep disorder) หากอาการนอนหลับไม่สนิทของคุณถูกรบกวนมานานกว่า 1 เดือน จะส่งผลกระทบต่ออารมณ์และการทำงาน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาวิธีอื่น ๆ มาป้องกัน อย่างเช่น จัดที่นอนให้เหมาะสม , หลีกเลี่ยงการนอนกลางวัน , หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและหากว่าคุณทำวิธีต่าง ๆ เหล่านี้แล้วยังไม่ได้ผล ควรไปพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพือหาวิธีในการรักษาโรคนอนไม่หลับทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างตัวผู้ป่วยเองและแพทย์ เพื่อหาสาเหตุ ผลกระทบและการรักษา ผู้ป่วยบางรายอาจมีโรคทางกาย หรือโรคทางจิตใจที่เป็นสาเหตุของ โรคไม่นอนหลับ และผู้ป่วยหลายรายที่เป็นโรคนอนไม่หลับโดยมีสาเหตุหลักที่เกิดจากหลายปัจจัยร่วมกันได้ค่ะ
×
×
  • สร้างใหม่...