ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

Chatcha Nimman

ขาประจำ
  • จำนวนเนื้อหา

    35
  • เข้าร่วม

  • เข้ามาล่าสุด

คะแนนนิยม

0 ปานกลาง

เกี่ยวกับ Chatcha Nimman

  • คะแนนนิยม
    ขาประจำ

Profile Information

  • เพศ
    หญิง
  • ที่อยู่
    กรุงเทพมหานคร

ผู้เยี่ยมชมโปรไฟล์ล่าสุด

บล็อคผู้เยี่ยมชมเมื่อเร็วๆนี้ถูกปิดการใช้งานและไม่ถูกแสดงกับผู้ใช้งานอื่น

  1. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า หุ้น ปตท. เป็นของ “ทักษิณ” แล้วหุ้น ปตท.เป็นของทักษิณ จริงหรือ? ที่ฟังพวกแกนนำที่พูดบนขึ้นเวทีม๊อบ หรือพวกแกนนำนักทวงคืนอย่างผู้สูงวัยท่านหนึ่ง นั้นกลับไม่คิดจะค้นหาข้อมูลด้วยตัวเองและก็เชื่อในทันทีด้วยในอคติว่า ทักษิณ หรือ ตระกูลชินวัตร เป็นเจ้าของ ปตท. และ ปตท.คือต้นเหตุทำให้น้ำมันแพง และที่น่าแปลกอีกอย่างหนึ่ง ถ้าพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพรรคที่ทักษิณสนับสนุนได้เป็นรัฐบาล กระแสทวงคืน ปตท.นั้นเงียบเป็นเป่าสากไม่มีใครพูดถึง ดังนั้นทีมงานก็เลยไปค้นข้อมูลข้อเท็จจริงว่า ปตท. เป็นของใคร ใครกันแน่คือเจ้าของ ปตท. ที่แท้จริง แล้วเราจะทวงคืนทำไม ทวงคืนให้ใคร? เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ ทีนี้เราต้องมาเจาะดูว่า (ปตท. เป็นของใคร) ใครถือหุ้นใหญ่ ปตท. ผู้ถือหุ้นใหญ่ ปตท. นั้นหาง่ายมาก ๆ ได้จากเว็บไซด์ settrade.com ได้ผู้ถือหุ้นใหญ่ดังภาพนี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริง ๆแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุก ๆ คนอยู่แล้ว แล้วที่เหลือล่ะ เป็นนักลงทุนคนไทยรายย่อย 16% จากการตรวจสอบสมุดบัญชีผู้ถือหุ้นของ ปตท. ก็พบว่า คนในตระกูลชินวัตรจริง ๆได้แก่ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร และนายพอพงษ์ ชินวัตร ถือหุ้นเพียง 7,700 หุ้น จาก 2.85 พันล้านหุ้น หรือ 0.0002% เท่านั้น ถือว่าน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญที่จะไปครอบงำเพื่อกำหนดนโยบายหรือทิศทาง อะไรได้เลยใน ปตท. เป็นการลงทุนตามปกติที่ใคร ๆ ก็เข้าไปซื้อได้ในตลาดหลักทรัพย์ [ธนาคาร JPMorgan Chase & Co.] ธนาคาร JPMorgan Chase & Co. แล้วส่วนที่เป็นของนักลงทุนต่างชาติ 18% ล่ะ จะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นสถาบันการเงินและกองทุนนอมินี บ้างก็บอกว่ากองทุนนอมินีเหล่านี้เป็นของทักษิณทั้งหมด ยกตัวอย่าง CHASE NOMINEE LIMITED ผู้ถือหุ้นลำดับที่ 5 จำนวน 2.53% นั้น เจ้าของกองทุนนี้คือ JP Morgan Chase & Co. (iv) หรือ JPM ซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกา ถือหุ้นใหญ่โดยสถาบันการเงินของต่างประเทศหลายต่อหลายแห่ง JPM มูลค่าสินทรัพย์ทั้งสิ้น 2.4 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ หรือ 72 ล้านล้านบาท !!!! นี่มันเป็นตัวเลขงบประมาณของประเทศไทยได้ถึงเกือบ 30 ปีเลยทีเดียว แค่ตัวอย่างนี้ตัวอย่างเดียวเท่านั้น ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าทักษิณเป็นเจ้าของนอมินีทุก ๆแห่ง ก็แสดงว่า ทักษิณแทบจะซื้อทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ได้อย่างแน่นอน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เรื่องดังกล่าวนี้ไม่มีมูลความจริงใด ๆทั้งสิ้น กล่าว โดยสรุป เจ้าของ ปตท.ทีแท้จริงก็คือ กระทรวงการคลัง เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ที่เป็นของคนไทยทุกคนอยู่แล้ว และนักลงทุนรายย่อยทั้งไทยและเทศ ที่คนไทยทุก ๆ คนสามารถจะมีหุ้นได้โดยสามารถซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้ทุกวันทำการ ก็ไม่รู้จะทวงคืนไปทำไม ทวงไปก็ไม่ได้น้ำมันถูกลง เพราะที่มันแพงก็แค่น้ำมันกลุ่มเบนซินที่เก็บภาษีและกองทุนน้ำมันเพิ่มขึ้น มามากทำให้ราคาแพง และเงินกองทุนน้ำมันก็เอาไปจ่ายชดเชยให้ก๊าซหุงต้มที่นำเข้ามาจากตลาดโลกมา ขายในประเทศถูกๆและพวกแก๊สโซฮอล E20, E85 รวมถึงชดเชยภาษีในส่วนของน้ำมันดีเซลที่คนไทยส่วนใหญ่ใช้มากกว่า 50% เพื่อควบคุมราคาไม่ให้เกิน 30 บาทต่อลิตร ที่จะส่งผลต่อค่าขนส่งสินค้าจนกระทบกับค่าครองชีพของคนไทยทุกคน ทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายของภาครัฐ ไม่เกี่ยวกับ ปตท. ซึ่งไม่ว่ารัฐบาลไหนเข้ามาก็ลดราคาน้ำมันกลุ่มเบนซิน แก๊สโซฮอล E10 มากไม่ได้เพราะจะทำให้กองทุนน้ำมันติดลบ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่น ๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เปิดหลักฐานปตทเป็นของใ/
  2. น่าแปลกใจที่ในสถานการณ์ด้านพลังงานค่อนข้างมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ (ประชาชนหลายท่าน มักรู้สึกว่าแพงเกินไป โดยปราศจากความเข้าใจพื้นฐานโครงสร้างพลังงาน) แทนที่จะช่วยกันทำความเข้าใจเรื่องโครงสร้างราคาพลังงาน รวมถึงการรณรงค์ให้ประหยัดพลังงานเพื่อลดการนำเข้า แต่มีกลุ่มคนบ้างกลุ่ม อาศัยความรู้สึกทางสังคมที่เกิดความน้อยเนื้อต่ำใจในรายได้ ตั้งเป้าโจมตีว่าเงินเดือนผู้บริหารใน บ.พลังงาน เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ราคาพลังงานแพง โดยข้อมูลที่หยิบยกมานั้น จะเป็นข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือรายงานประจำปี ซึ่งไม่ระบุเป็นรายบุคคล แต่เป็นรายจ่ายเงินเดือนรวม เนื่องจากเงินเดือนถือเป็นความลับระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง จึงมักมีการนำตัวเลขรายได้ทั้งหมดมาหารค่าเฉลี่ยเป็นเงินเดือน ซึ่งอันที่จริงเป็นตัวเลขที่ไม่ถูกต้องเสียทีเดียว เพราะในเงินก้อนนั้น ๆ ยังรวมถึงโบนัส ค่าเบี้ยประชุมต่าง ๆ จึงทำให้ตัวเลขที่ยกมานั้น ดูเป็นตัวเลขเงินเดือนที่สูงมาก และมักนำไปเปรียบกับตำแหน่งระดับสูงๆ จากภาครัฐ เช่น นายกรัฐมนตรี ยิ่งสร้างความเข้าใจผิดในกลุ่มคนที่อาศัยโลกโซเชียล ที่ขาดสติในการบอกและแชร์ต่อความจริง คำถามคือ เงินเดือนผู้บริหาร ปตท. นั้น สูงตามที่กล่าวหาจริงหรือ คำตอบคือไม่ได้สูงดังคำกล่าวอ้าง เพราะตัวเลขดังกล่าวเป็นการรวมทั้งปี แถมยังเอาโบนัส และเบี้ยประชุมมารวมเข้าไป อย่างไรก็ตาม เงินเดือนผู้บริหาร ปตท. รวมไปถึง กลุ่มผู้บริหารในบริษัทต่าง ๆ ที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ โดยเฉพาะบริษัทชั้นนำต่าง ๆ ได้มีการกำหนดรายละเอียดค่าตอบแทนเงินเดือนตามความสามารถและความรับผิดชอบ และไม่ใช่เพียงเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. เท่านั้น แต่ธุรกิจด้านอื่น ๆ เช่น ธุรกิจการบิน โทรคมนาคม โรงพยาบาล การเงิน ความงาม ล้วนมีรายได้ระดับสูงทั้งสิ้น จึงไม่น่าแปลกใจว่า สาเหตุใด เงินเดือนผู้บริหาร ปตท. จึงได้มีเงินเดือนสูงตามที่กล่าวอ้างถึง อย่างไรก็ตามสำหรับใครที่อยากรู้ว่าระบบเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. คิดอย่างไร เราได้นำข้อมูลมาเสนอให้ได้อ่านกันดังนี้ “ปตท. ได้กำหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล มีคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนทำหน้าที่ทบทวน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับภาระความรับผิดชอบของกรรมการ สถานะทางการเงินของบริษัทและเปรียบเทียบกับบริษัทในกลุ่มธุรกิจระดับเดียวกัน โดยกำหนดค่าตอบแทนเป็นเบี้ยประชุมและโบนัส อนึ่ง กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรรมการในคณะกรรมการเฉพาะเรื่องชุดอื่น ๆ ก็ให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มตามความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ค่าตอบแทนกรรมการได้รับการขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว ดังนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ • ค่าตอบแทนกรรมการ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2557 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ แยกเป็นดังนี้ 1. ค่าเบี้ยประชุม 1.1 เบี้ยประชุมคณะกรรมการ ปตท. ประกอบด้วย • เบี้ยกรรมการรายเดือน เดือนละ 30,000 บาท (เท่ากับอัตราเดิม) • เบี้ยประชุม เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม ครั้งละ 50,000 บาท (เท่ากับอัตราเดิม) โดยจำกัดการจ่ายเบี้ยประชุม ไม่เกินปีละ 15 ครั้ง 1.2 เบี้ยประชุมคณะกรรมการอื่น ที่คณะกรรมการ ปตท. แต่งตั้ง ได้แก่ 1.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ • เบี้ยกรรมการรายเดือน เดือนละ 15,000 บาท • เบี้ยประชุมครั้งละ 15,000 บาท (เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) และเลขานุการฯ ได้รับเบี้ยประชุมเดือนละ 7,500 บาท 1.2.2 สำหรับคณะกรรมการอื่น อีก 3 คณะ คือ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดีกำหนดเบี้ยประชุมครั้งละ 24,000 บาท (เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) 1.2.3 สำหรับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่เมื่อปี2556 และคณะกรรมการชุดย่อยอื่น ที่อาจมีการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทตามความจำเป็นและเหมาะสมในอนาคต กำหนดเบี้ยประชุม ครั้งละ 24,000 บาท เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม 1.3 ประธานกรรมการของทุกคณะฯ ให้ได้รับสูงกว่ากรรมการ ในอัตราร้อยละ 25 • เงินโบนัสกรรมการ ปตท. ประจำปี 2557 กำหนดค่าตอบแทนที่เป็นเงินโบนัสให้สะท้อนและเชื่อมโยงกับผลประกอบการหรือกำไรสุทธิของ ปตท. ในอัตราเท่ากับร้อยละ 0.05 ของกำไรสุทธิประจำปี 2557 แต่กำหนดวงเงินสูงสุดไม่เกิน 3,000,000 บาทต่อคนต่อปี (เท่ากับอัตราเดิม) และให้คำนวณจ่ายตามระยะเวลาการดำรงตำแหน่งและประธานกรรมการ ปตท. ได้รับสูงกว่ากรรมการฯ ในอัตราร้อยละ 25 • ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่กรรมการ ปตท. กำหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานของ ปตท. ตามระบบประเมินผลรัฐวิสาหกิจ (Performance Agreement: PA) กำหนดโดยกระทรวงการคลังซึ่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารทุกระดับร่วมกันกำหนดตัวชี้วัดและตั้งค่าเป้าหมาย (Key Performance Indicators: KPIs) ไว้แต่ละปี เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจและนำไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารทุกระดับ โดยคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณากำหนดค่าตอบแทนให้สะท้อนถึงผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) ตลอดจนแนวปฏิบัติและมาตรฐานของกลุ่มธุรกิจชั้นนำประเภทเดียวกัน พร้อมทั้งนำเสนอหลักการและจำนวนค่าตอบแทนที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาและอนุมัติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารของ ปตท. ตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) (เนื่องจาก ปตท. มีการปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 จึงมีผลให้จำนวนผู้บริหารตามคำจำกัดความของสำนักงาน ก.ล.ต. ก่อนการปรับโครงสร้าง คือ 1 มกราคม – 30 เมษายน 2557 มีจำนวน 10 ท่าน ในขณะที่ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นไป มีจำนวน 5 ท่าน) และไม่รวมผู้บริหารระดับสูงที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น ที่มาปฏิบัติงานที่ ปตท. ได้รับค่าตอบแทน จาก ปตท. ตามรายละเอียด ดังนี้ สุดท้าย สำหรับใครที่ยังคงคิดว่าเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ราคาน้ำมันแพง ลองพิจารณาตรรกะนี้กันสักนิด “คนไทยใช้น้ำมันวันละ 90 ล้านลิตร คิดเป็นสูตร 1 เดือน 90 x 30 เท่ากับ 2,700 ล้านลิตรต่อเดือน ดังนั้น ถ้าจะให้ราคาน้ำมันลดลง 0.01 บาทต่อลิตร ต้องใช้เงินจำนวน 27 ล้านบาท จากตัวข้างต้น ลองคิดง่ายๆ ถ้าเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. กับ พนง. ไม่รับเงินเดือน จำนวน 27 ล้านบาทต่อเดือน เอาเงินส่วนนั้นมาลดค่าน้ำมัน ราคาจะลดลง 0.01 บาทต่อลิตร (แล้วเป็นการเอาเปรียบหรือไม่ที่ให้พวกเขาทำงานฟรี เพื่อให้เราได้ใช้น้ำมันถูกลง) ในทางกลับกันถ้าเพิ่มเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. อีก 27 ล้านบาทต่อเดือน ทำให้ราคาน้ำมันแพงขึ้นเพียง 0.01 บาทต่อลิตรเท่านั้น” ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เงินเดือนผู้บริหาร-ปตท/
  3. กรณีสินบนโรลส์-รอยซ์ปตท.ที่เกิดขึ้น กลายเป็นประเด็นสังคมที่ถูกพูดถึงมากทั้งตามหน้าข่าวและโลกโซเชียล พร้อมทั้งเกิดคำถามว่าใครเป็นคนผิดในกรณีนี้!!! จากการพยายามเล่นกระแสของกลุ่มคนที่หวังผลทางการเมือง และการพาดหัวข่าวจึงไม่น่าแปลกใจที่หลายคนที่ติดตามเรื่องราวดังกล่าวจะชี้เป้าไปที่องค์กรอย่างการบินไทยและปตท. เป็นหลัก โดยเฉพาะกลุ่มแรกที่พยายามหยิบยกประเด็นถึงความเป็นธรรมาภิบาลของ ปตท. มาโจมตีว่าทำไมจึงเกิดการรับสินบนขององค์กรที่มีธรรมาภิบาลสูงแบบนี้ได้ อันนี้เลยจะขอยกคำสัมภาษณ์ของนายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)โดยสัมภาษณ์ผ่านรายการเฟซไทม์ ทางสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ เมื่อวันที่ 23 มกราคม ที่ผ่านมา มาให้อ่านกัน… “เท่าที่ดูรายละเอียดเว็บไซต์ของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ การจ่ายเงินเป็นการจ่ายค่าคอมมิสชันให้กับตัวแทนของโรลส์-รอยซ์ ซึ่งจำเป็นต้องใช้เงินตัวนั้น เพื่อจ่ายให้กับพนักงานหรือผู้บริหารของปตท. ฉะนั้นโรลส์-รอยซ์ไม่มีการจ่ายเงินตรงมาที่ปตท. ดังนั้น การดำเนินงานเป็นเรื่องของตัวบุคคลที่ต้องแยกออกจากองค์กร ซึ่งอ่านแล้วไม่แน่ใจว่าผู้บริหารหรือพนักงานของโรลส์-รอยซ์ ที่จ่ายไปให้กับตัวแทนหรือคนกลาง” … เว็บไซต์ ฐานเศรษฐกิจ จากคำสัมภาษณ์จะเห็นว่าจำนวนเงินที่มีการอ้างว่ารับสินบนนั้น ถูกส่งมอบให้แก่ “บุคคลซึ่งอาจจะเป็นพนักงานหรือผู้บริหาร” ในสมัยนั้น และไม่มีการถูกจ่ายตรงให้กับ ปตท. อันนี้จึงกลายเป็นเรื่องของบุคคลที่มีการคอรัปชั่น ไม่ใช่องค์กร และ ปตท.ยังถือเป็นผู้เสียหายจากการกระทำดังกล่าวด้วย ทำไม ปตท. ถึงเป็นผู้เสียหาย? …อันนี้ขอยกตัวอย่างง่ายๆ ว่า มีพนักงานในบริษัทหนึ่ง รับเงินสินบนเพื่อล็อกสเปคของหนึ่งชิ้น เพื่อซื้อของเข้าบริษัท ถามว่าเรื่องนี้ใครเป็นคนผิด ระหว่างบริษัทหรือพนักงานที่รับสินบน? …จากตัวอย่างนี้จะเห็นชัดเจนว่า การที่กลุ่มที่เคลื่อนไหวเพื่อหวังผลทางการเมือง จะพยายามโจมตีองค์กรนั้น น่าจะเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงให้เกิดการเข้าใจผิดเสียมากกว่า ส่วนกรณีที่มีคำถามว่าทำไมถึงให้คนในองค์กร ปตท. เองเป็นผู้สอบส่วน ตรงนี้คุณเทวินทร์ มีความเห็นว่า “ยังไม่ได้บอกว่าใครเป็นผู้ต้องสงสัยอะไร แต่ต้องรู้ก่อนว่าใครมีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง ซึ่งการตั้งกรรมการสอบสวนก็ต้องมั่นใจว่าคนที่จะมาเป็นประธานและกรรมการไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อจัดจ้างในยุคที่เกิดขึ้น มีทั้งผู้ที่เข้าใจกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ที่เข้าใจเทคนิคการก่อสร้าง ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการตรวจสอบ และผู้เชี่ยวชาญทางด้านกฎหมาย แต่ขอไม่เปิดเผยว่าประธานคือใคร แต่เป็นคนภายในองค์กร เพราะต้องการให้เขามีความสบายใจในการทำงาน” การที่ ปตท. ซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการรับสินบนจะเข้ามาสอบสวนเองคงจะไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร ทั้งยังมีการยืนยันจากปากคุณเทวินทร์เองว่าการตั้งคณะกรรมการซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างในยุคนั้น ก็คงจะหมดข้อสงสัยถึงการจัดการประเด็นการรับสินบนนี้ได้ในระดับหนึ่ง ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/สินบนโรลส์-รอยซ์-ชี้ปตท/
  4. ธุรกิจการค้าน้ำมันเชื้อเพลิงของไทยเป็นระบบการค้าเสรี ราคาน้ำมันจะเคลื่อนไหวขึ้นลงตามราคาน้ำมันในตลาดโลก ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความผันผวนสูง จึงทำให้เกิดข้อสงสัยทำไมราคาน้ำมันแพงแต่คนไทยยังใช้อยู่ สาเหตุหลักมาจากความต้องการใช้น้ำมันที่ขยายตัวสูงขึ้นโดยเฉพาะจาก จีน และอินเดีย ความแปรปรวนของสภาพอากาศและภัยธรรมชาติ ความกังวลในเรื่องปัญหาการเมืองและความวุ่นวายในประเทศผู้ผลิตน้ำมันกลุ่ม โอเปก และส่วนหนึ่งมาจากการเก็งกำไรในตลาดซื้อขายน้ำมันล่วงหน้า ทำให้ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้นเกินราคาปัจจัยพื้นฐาน ซึ่งราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปัจจุบันควรจะอยู่ที่ประมาณ 100 เหรียญ สหรัฐ/บาร์เรล (ราคา ณ เดือนพฤษภาคม 2551) ราคาขายปลีกน้ำมันสำเร็จรูปที่เราซื้อจากสถานีบริการ มีโครงสร้างของราคาประกอบด้วย ส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ 1) ค่าต้นทุนในการซื้อน้ำมันจากโรงกลั่น หรือนำเข้าจากต่างประเทศ 2) เงินภาษีและกองทุนที่รัฐเรียกเก็บจากผู้ค้าน้ำมัน ได้แก่ ภาษีสรรพสามิต ภาษีเทศบาล ภาษีมูลค่าเพิ่ม กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง และกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 3) ค่าการตลาด ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ เช่น ค่าจ้าง แรงงาน ค่าขนส่งน้ำมันจากโรงกลั่นผ่านคลังน้ำมันไปยังสถานีบริการน้ำมัน ค่าสารปรับปรุงคุณภาพ ค่าส่งเสริมการตลาด และค่าผลตอบแทนในการดำเนินธุรกิจ ค่าการตลาดที่เหมาะสมต่อการดำเนินธุรกิจควรจะอยู่ที่ประมาณ 1.50 บาท/ลิตร แต่ปัจจุบันผลิตภัณฑ์น้ำมันบางชนิด เช่น น้ำมันดีเซลมีค่าการตลาดติดลบ หมายเหตุ: ส่วนต่างระหว่างราคาน้ำมันหน้าโรงกลั่นในประเทศและราคาขายปลีกน้ำมันสำเร็จรูปเกือบทั้งหมดเป็นภาษีสรรพสามิต ภาษีเทศบาล ภาษีมูลค่าเพิ่ม เงินส่งเข้ากองทุนน้ำมัน และกองทุนอนุรักษ์พลังงาน โดย ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ยอดรวมภาษี และเงินกองทุนต่าง ๆ สำหรับน้ำมันเบนซินสูงถึง 10.88 บาทต่อลิตร น้ำมันดีเซลประมาณ 5 บาทต่อลิตร ขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/น้ำมันแพง-2/
  5. ตามที่ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคได้แถลงข่าวว่าได้ดำเนินการยื่นฟ้องเจ้าหน้าที่ของรัฐว่าประพฤติมิชอบในการแบ่งแยกทรัพย์สินของ ปตท. ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2561 โดยศาลได้นัดฟังคำตัดสินว่าจะรับเป็นคดีหรือไม่ ในวันที่ 19 มิถุนายน 2561 นั้น จากข้อเท็จจริงที่มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคแถลงข่าว ปตท. ขอเรียนว่า กรณีเดียวกันนี้ น.ส.รสนา โตสิตระกูล และนางสาวบุญยืน ศิริธรรม ได้เคยเป็นโจทย์ยื่นฟ้องคดีต่อศาลอาญาคดีทุจริต(คดี ปตท. คือท่อก๊าซไม่ครบ หรืออมท่อ) และประพฤติมิชอบกลางไปแล้ว เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560 และศาลอาญาคดีทุจริตฯท่อก๊าซ (อมท่อ) ได้มีคำพิพากษายกฟ้องคดีดังกล่าวเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 ต่อมาโจทก์ทั้งสองได้ยื่นอุทธรณ์คดี ซึ่งศาลอุทธรณ์ก็ได้มีคำพิพากษาลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2560 ยืนตามคำพิพากษาของศาลอาญาคดีทุจริตฯ คดี(ปตท. อมท่อ)ดังกล่าวจึงถึงที่สุด ทั้งนี้ ปตท. ขอเรียนยืนยันว่า ปตท. ได้ดำเนินการแบ่งแยกและส่งมอบทรัพย์สิน(ท่อก๊าซ)ให้แก่กระทรวงการคลังตามคำพิพากษาศาลฯ คดีหมายเลขแดงที่ ฟ.35/2550 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และศาลปกครองได้มีคำสั่งยืนยันในเรื่องดังกล่าวหลายครั้งแล้ว ตั้งแต่ปี 2551 – 2559 ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/แถลง-คดี-ปตท-อมท่อ-คืนท่อ/
  6. มีข้อมูลที่ถูกบิดเบือนอยู่มากมายในโลกโซเชียล ที่นำพาไปสู้ความเข้าใจผิด โดยเฉพาะกับ บริษัทที่ถูกโยงไปเป็นประเด็นทางการเมือง อย่าง ปตท. เกิดเป็นคำถาม “ปตท. เพื่อใคร?” ทั้งเรื่องการตั้งบริษัทบนเกาะเคย์แมน การแปรรูป รวมถึงเรื่องราคาพลังงาน เรื่องราวเหล่านี้ถูกพูดถึงบ่อย และหลายคนก็พยายามตั้งคำถาม โดยไม่สนใจว่าคำตอบของคำถามเหล่านี้ ก็มีข้อมูล มีการออกมาตอบอยู่เรื่อยๆ โดยไม่มีการพยายามปิดบังอะไร ซึ่งจะขอแยกอธิบายออกเป็นข้อๆ ดังนี้ 1. ไม่มีบัญชีลับอะไรใด เพราะ บริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ต้องแสดงทรัพย์สิน รวมถึงรายรับรายจ่าย มีกรรมการ มีผู้ตรวจสอบจากภายนอกด้วย แถมยังมี สตง. รับรองบัญชีอีก 2. ปัจจุบัน คุณไพรินทร์ หมดวาระเป็นประธาน ปตท. ไปแล้ว 3. เกาะเคย์แมนไม่ได้เป็นเกาะฟอกเงินอย่างในหนัง เป็นการเปิดเพื่อกระจายความเสี่ยง ปัจจุบันมีกฎหมายรองรับ มีการตรวจสอบ มีการรายงานลงในบัญชี สามารถตรวจสอบได้ใน 56-1 4. การลงโฆษณาในสื่อ เป็นหลักของการตลาด เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าสินค้าใดๆ ก็มีการประชาสัมพันธ์ 5. การแปรรูป ปตท. เริ่มสมัยคุณชวน เมื่อประมาณ ปี 42 โดยหุ้น ปตท.เข้าตลาดหลักทรัพย์ซื้อขายวันแรก 6 ธ.ค. 2544 ด้วยมูลค่าตลาดประมาณ 90,000 ล้านบาท หุ้นใหญ่ขนาดนี้ต้องใช้เวลาเตรียมตัวพร้อมทำไฟริ่งไม่น้อยกว่า 1 ปี แน่นอน ขณะที่นายกทักษิน เป็นนายกรัฐมนตรีวันที่ 9 ก.พ. 2544 แสดงว่านโยบายการแปรรูป ปตท.ได้ดำเนินการมาก่อนหน้านี้นานพอสมควรแต่มาแล้วเสร็จในยุคทักษิณพอดี 6. หุ้นที่บอกว่า ไม่ได้ชื่อกระทรวงการคลัง จริงๆ แล้ว อย่างสำนักงานประกันสังคม ก็ถือเป็นการลงทุนของรัฐ 7. บริษัท นอมินี เหล่านี้ ก็เป็นอีกช่องทางการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติหลายๆคน การลงทุนผ่านทางบริษัทนอมินีของสถาบันการเงินเหล่านี้คล้ายๆ กับบริษัทไทยเอ็นวีดีอาร์ของบ้านเรานั่นเองที่ช่วยกระตุ้นการลงทุนระดมทุนของนักลงทุนต่างชาติ ซึ่งผู้ถือหุ้นผ่านนอมินีเหล่านี้จะไม่มีสิทธิ์ออกเสียงหรือกำหนดนโยบายใดๆ ในบริษัทได้เลย ปตท.ขายหุ้นให้กับบุคคลทั่วไป ผ่าน Thai VDNR จำนวน 5.1% ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บุคคลทั่วไปต้องไปซื้อจาก บริษัทดังกล่าว ไม่ใช่ไปซื้อตรงจาก ปตท. ทุกวันนี้ก็เปิดซื้อขายอยู่ เรื่องที่ว่ามีการจองหุ้นกัน ก็จองผ่านบริษัทนี้ครับ และที่อ้างว่าหุ้นหมดซื้อไม่ทัน มันก็ไม่เกี่ยวกับ ปตท.เลย ด้วยเหตุผลข้างต้นครับ 8. เงินปันผล ปตท เข้าพรรคเพื่อไทย ด้วยความที่ กระทรวงการคลังถือหุ้น ปตท.ใหญ่ เงินก็ต้องเข้ากระทรวงการคลังดิ คนคิดว่าเข้าพรรคเพื่อไทย มโนอะไรก็ให้มีขอบเขตกันหน่อย 9. มาเลเซียน้ำมันลิตรละ เท่าไหร่ก็แล้วแต่ แต่ทราบหรือไม่ เค้ามีการไม่เก็บเงินภาษีสินค้าและบริการ GST ทำให้ราคาน้ำมันเค้าถูก แต่เค้าต้องแลกกับการติดงบทางการศึกษา 10.เรื่องการยกเลิกเบนซิน 91 95 ก็บ้าบอ เค้ายกเลิกแต่เบนซิน 91 เพราะสนับสนุนพลังงานทดแทน ที่เป็นพระราชดำริของในหลวง เพื่อลดการนำเข้าน้ำมันดิบ เพื่อลดมลพิษทางอากาศ 11.ปตท.สผ. ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในแปลงสัมปทานของแหล่งน้ำมัน “นงเยาว์” ไม่เคยมีการถือหุ้นในแหล่งน้ำมัน “นงเยาว์” และ ที่สำคัญได้ถอนตัวออกเมื่อ ปี 2543 12.LPG ที่มีการปรับราคา เพื่อสะท้อนต้นทุนการใช้ในประเทศ เป็นไปตามนโยบายปฎิรูปพลังงานสะท้อนราคาที่แท้จริง 13.ก๊าซจากอ่าวไทย ทุกวันนี้ใช้ผลิตไฟฟ้ามากที่สุด และไม่มีการส่งออก แถมยังต้องนำเข้า LNG เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการใช้ในประเทศ 14.การปลดบอร์ด ปตท. ต้องอาศัยมติที่ประชุมบอร์ด ไม่ใช่อยากปลดก็ปลด ไม่งั้นสะเทือนเศรษฐกิจตลาดหุ้นไทยแน่นอน เรื่องราววาทะกรรมเป็นเรื่องที่สร้างง่าย และลุกลามอย่างรวดเร็วกว่าความจริงนัก ซึ่งหากใครที่ติดตามข่าวสารพลังงานมาตลอดก็จะทราบดีว่า จริงๆ แล้ว สิ่งที่ ปตท. ทำ ใช่เพื่อใคร แต่ก็เพื่อสเถียรภาพทางพลังงานของคนทั้งชาตินั่นเอง ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/ไขข้อสงสัย-ปตท-เพื่อใคร/
  7. มีความเข้าใจผิดในเรื่องนี้ออกมาอยู่เนือง ๆ ในกรณีที่ผู้บริโภคบางกลุ่ม มองว่าราคาน้ำมันเมืองไทยแพงเกินไป และ ปตท. เป็นต้นเหตุของราคา เพราะปตท. เป็นผู้กำหนดราคาขายน้ำมันในประเทศ ตรงนี้จะขอนำส่วนหนึ่งของคำแถลงที่ทาง ผู้บริหารของ ปตท. ได้ตั้งโต๊ะแถลง หลังจากมีประเด็นร้อนว่อนในโลกโซเชียลในด้านลบกับ บริษัท ปตท. กำหนดราคาน้ำมันที่เอาเปรียบประชาชน จนได้กำไรสูงเป็นแสนล้านบาท พร้อมชักชวนบอยคอตเติมน้ำมันที่ปั๊มของ ปตท. “นายเทวินทร์ กล่าวว่า ปี 2560 ราคาน้ำมันทั้งปีเฉลี่ยเป็นขาขึ้น โดย ปตท. มีการปรับขึ้น 21 ครั้ง ปรับลง 21 ครั้ง แต่ราคาหน้าปั๊มขายต่ำกว่าต่างชาติ 20 วัน ไม่เคยขายแพงกว่ารายอื่นเลย แม้แต่ช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ตั้งแต่ 6 เม.ย. – 28 พ.ค. 2561 ปตท.ปรับขึ้นราคาน้ำมัน 6 ครั้ง ปรับลง 1 ครั้ง โดยไม่เคยมีช่วงเวลาที่ขายแพงกว่าเจ้าอื่น แต่มีช่วง 9 วันในช่วง 50 วันที่ขายถูกกว่าปั๊มอื่น” การที่มีช่วงเวลาที่ ปตท. ขายถูกกว่าปั๊มอื่น และไม่มีช่วงเวลาไหนเลยที่ ปตท. จะขายแพงกว่าปั๊มอื่น นั่นเป็นหลักฐานชัดเจนว่า ปตท. ไม่ได้เป็นผู้กำหนดราคาน้ำมันในประเทศ แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาขายได้อย่างเสรี ผ่านค่าการตลาด (ส่วนราคา ณ โรงกลั่นใช้ราคาอ้างอิงตลาดสิงคโปร์ ในขณะที่ภาษีและกองทุนต่าง ๆ รัฐบาลเป็นคนกำหนด) แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดค่าการตลาด เท่าไหร่ก็ได้ จะเก็บค่าการตลาดลิตรละ 100 บาท หรือลิตรละแค่ 10 สตางค์ก็สามารถทำได้ตามหลัก รัฐเพียงแค่มีการเสนอตัวเลขค่าการตลาดที่เหมาะสมเอาไว้ (แต่ไม่ได้บังคับให้ทำตาม) ซึ่งอย่าลืมว่าค่าการตลาด ยังไม่ได้หักส่วนค่าใช้จ่ายภายในปั๊มทั้งหมดจะเป็นค่าขนส่งน้ำมัน ค่าจ้างเด็กปั๊ม ค่าน้ำมันค่าไฟ ฯลฯ ดังนั้นหากค่าการตลาดต่ำเกินไป ปั๊มก็จะขาดทุนและต้องปิดตัวลง จากที่กล่าวมาจะเห็นว่า แต่ละปั๊ม แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาได้เองอย่างเสรี เพียงแค่จ่ายภาษีและกองทุนต่าง ๆ ตามที่รัฐกำหนดเท่านั้น ซึ่งไม่ได้มีแบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งที่สามารถกำหนดราคาขายของทั้งตลาดได้ อย่างที่เข้าใจผิดกัน ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/ราคาน้ำมันใครกำหนด-ปตท/
  8. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า “ทักษิณ” เป็นเจ้าของ ปตท. และไม่น่าเชื่อว่า ข้อมูลเบสิคๆแบบนี้ ที่ฟังพวกแกนนำที่พูดบนขึ้นเวทีม๊อบ หรือพวกแกนนำนักทวงคืนอย่างผู้สูงวัยท่านหนึ่ง นั้นกลับไม่คิดจะค้นหาข้อมูลด้วยตัวเองและก็เชื่อในทันทีด้วยในอคติว่า หุ้น ปตท ทักษิณเป็นเจ้าของ และ ปตท.คือต้นเหตุทำให้น้ำมันแพง และที่น่าแปลกอีกอย่างหนึ่ง ถ้าพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพรรคที่ทักษิณสนับสนุนได้เป็นรัฐบาล กระแสทวงคืน ปตท.นั้นเงียบเป็นเป่าสากไม่มีใครพูดถึง ดังนั้นทีมงานก็เลยไปค้นข้อมูลข้อเท็จจริงว่า ปตท. เป็นของใคร ใครกันแน่คือเจ้าของ ปตท. ที่แท้จริง แล้วเราจะทวงคืนทำไม ทวงคืนให้ใคร? เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ ทีนี้เราต้องมาเจาะดูว่า (ปตท. เป็นของใคร) ใครถือหุ้นใหญ่ ปตท. ผู้ถือหุ้นใหญ๋ ปตท. นั้นหาง่ายมากๆได้จากเว๊บไซด์ settrade.com ได้ผู้ถือหุ้นใหญ่ดังภาพนี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุกๆคนอยู่แล้ว แล้วที่เหลือล่ะ เป็นนักลงทุนคนไทยรายย่อย 16% จากการตรวจสอบสมุดบัญชีผู้ถือหุ้นของ ปตท. ก็พบว่า คนในตระกูลชินวัตรจริงๆได้แก่ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร และนายพอพงษ์ ชินวัตร ถือหุ้นเพียง 7,700 หุ้น จาก 2.85 พันล้านหุ้น หรือ 0.0002% เท่านั้น ถือว่าน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญที่จะไปครอบงำเพื่อกำหนดนโยบายหรือทิศทาง อะไรได้เลยใน ปตท. เป็นการลงทุนตามปกติที่ใครๆก็เข้าไปซื้อได้ในตลาดหลักทรัพย์ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่นๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด ข้อมูลเพิ่มเติมที่ http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เปิดหลักฐานปตทเป็นของใ/
  9. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า “ทักษิณ” เป็นเจ้าของ ปตท. และไม่น่าเชื่อว่า ข้อมูลเบสิค ๆแบบนี้ ที่ฟังพวกแกนนำที่พูดบนขึ้นเวทีม๊อบ หรือพวกแกนนำนักทวงคืนอย่างผู้สูงวัยท่านหนึ่ง นั้นกลับไม่คิดจะค้นหาข้อมูลด้วยตัวเองและก็เชื่อในทันทีด้วยในอคติว่า หุ้น ปตท ทักษิณเป็นเจ้าของ และ ปตท.คือต้นเหตุทำให้น้ำมันแพง และที่น่าแปลกอีกอย่างหนึ่ง ถ้าพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพรรคที่ทักษิณสนับสนุนได้เป็นรัฐบาล กระแสทวงคืน ปตท.นั้นเงียบเป็นเป่าสากไม่มีใครพูดถึง ดังนั้นทีมงานก็เลยไปค้นข้อมูลข้อเท็จจริงว่า ปตท. เป็นของใคร ใครกันแน่คือเจ้าของ ปตท. ที่แท้จริง แล้วเราจะทวงคืนทำไม ทวงคืนให้ใคร? เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ ทีนี้เราต้องมาเจาะดูว่า (ปตท. เป็นของใคร) ใครถือหุ้นใหญ่ ปตท. ผู้ถือหุ้นใหญ๋ ปตท. นั้นหาง่ายมากๆได้จากเว๊บไซด์ settrade.com ได้ผู้ถือหุ้นใหญ่ดังภาพนี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุกๆคนอยู่แล้ว แล้วที่เหลือล่ะ เป็นนักลงทุนคนไทยรายย่อย 16% จากการตรวจสอบสมุดบัญชีผู้ถือหุ้นของ ปตท. ก็พบว่า คนในตระกูลชินวัตรจริงๆได้แก่ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร และนายพอพงษ์ ชินวัตร ถือหุ้นเพียง 7,700 หุ้น จาก 2.85 พันล้านหุ้น หรือ 0.0002% เท่านั้น ถือว่าน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญที่จะไปครอบงำเพื่อกำหนดนโยบายหรือทิศทาง อะไรได้เลยใน ปตท. เป็นการลงทุนตามปกติที่ใครๆก็เข้าไปซื้อได้ในตลาดหลักทรัพย์ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่นๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด ข้อมูลเพิ่มเติมที่ http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เปิดหลักฐานปตทเป็นของใ/
  10. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า “ทักษิณ” เป็นเจ้าของ ปตท. และไม่น่าเชื่อว่า ข้อมูลเบสิค ๆแบบนี้ ที่ฟังพวกแกนนำที่พูดบนขึ้นเวทีม๊อบ หรือพวกแกนนำนักทวงคืนอย่างผู้สูงวัยท่านหนึ่ง นั้นกลับไม่คิดจะค้นหาข้อมูลด้วยตัวเองและก็เชื่อในทันทีด้วยในอคติว่า หุ้น ปตท ทักษิณเป็นเจ้าของ และ ปตท.คือต้นเหตุทำให้น้ำมันแพง และที่น่าแปลกอีกอย่างหนึ่ง ถ้าพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพรรคที่ทักษิณสนับสนุนได้เป็นรัฐบาล กระแสทวงคืน ปตท.นั้นเงียบเป็นเป่าสากไม่มีใครพูดถึง ดังนั้นทีมงานก็เลยไปค้นข้อมูลข้อเท็จจริงว่า ปตท. เป็นของใคร ใครกันแน่คือเจ้าของ ปตท. ที่แท้จริง แล้วเราจะทวงคืนทำไม ทวงคืนให้ใคร? เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ ทีนี้เราต้องมาเจาะดูว่า (ปตท. เป็นของใคร) ใครถือหุ้นใหญ่ ปตท. ผู้ถือหุ้นใหญ๋ ปตท. นั้นหาง่ายมากๆได้จากเว๊บไซด์ settrade.com ได้ผู้ถือหุ้นใหญ่ดังภาพนี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุกๆคนอยู่แล้ว แล้วที่เหลือล่ะ เป็นนักลงทุนคนไทยรายย่อย 16% จากการตรวจสอบสมุดบัญชีผู้ถือหุ้นของ ปตท. ก็พบว่า คนในตระกูลชินวัตรจริงๆได้แก่ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร และนายพอพงษ์ ชินวัตร ถือหุ้นเพียง 7,700 หุ้น จาก 2.85 พันล้านหุ้น หรือ 0.0002% เท่านั้น ถือว่าน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญที่จะไปครอบงำเพื่อกำหนดนโยบายหรือทิศทาง อะไรได้เลยใน ปตท. เป็นการลงทุนตามปกติที่ใครๆก็เข้าไปซื้อได้ในตลาดหลักทรัพย์ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่นๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด ข้อมูลเพิ่มเติมที่ http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เปิดหลักฐานปตทเป็นของใ/
  11. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า “ทักษิณ” เป็นเจ้าของ ปตท. และไม่น่าเชื่อว่า ข้อมูลเบสิค ๆแบบนี้ ที่ฟังพวกแกนนำที่พูดบนขึ้นเวทีม๊อบ หรือพวกแกนนำนักทวงคืนอย่างผู้สูงวัยท่านหนึ่ง นั้นกลับไม่คิดจะค้นหาข้อมูลด้วยตัวเองและก็เชื่อในทันทีด้วยในอคติว่า หุ้น ปตท ทักษิณเป็นเจ้าของ และ ปตท.คือต้นเหตุทำให้น้ำมันแพง และที่น่าแปลกอีกอย่างหนึ่ง ถ้าพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพรรคที่ทักษิณสนับสนุนได้เป็นรัฐบาล กระแสทวงคืน ปตท.นั้นเงียบเป็นเป่าสากไม่มีใครพูดถึง ดังนั้นทีมงานก็เลยไปค้นข้อมูลข้อเท็จจริงว่า ปตท. เป็นของใคร ใครกันแน่คือเจ้าของ ปตท. ที่แท้จริง แล้วเราจะทวงคืนทำไม ทวงคืนให้ใคร? เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ ทีนี้เราต้องมาเจาะดูว่า (ปตท. เป็นของใคร) ใครถือหุ้นใหญ่ ปตท. ผู้ถือหุ้นใหญ๋ ปตท. นั้นหาง่ายมากๆได้จากเว๊บไซด์ settrade.com ได้ผู้ถือหุ้นใหญ่ดังภาพนี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริงๆแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุกๆคนอยู่แล้ว แล้วที่เหลือล่ะ เป็นนักลงทุนคนไทยรายย่อย 16% จากการตรวจสอบสมุดบัญชีผู้ถือหุ้นของ ปตท. ก็พบว่า คนในตระกูลชินวัตรจริงๆได้แก่ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร และนายพอพงษ์ ชินวัตร ถือหุ้นเพียง 7,700 หุ้น จาก 2.85 พันล้านหุ้น หรือ 0.0002% เท่านั้น ถือว่าน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญที่จะไปครอบงำเพื่อกำหนดนโยบายหรือทิศทาง อะไรได้เลยใน ปตท. เป็นการลงทุนตามปกติที่ใครๆก็เข้าไปซื้อได้ในตลาดหลักทรัพย์ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่นๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด ข้อมูลเพิ่มเติมที่ http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เปิดหลักฐานปตทเป็นของใ/
  12. กระแส ทวงคืน ปตท. เป็นกระแสที่มาบูมในระยะ 2-3 ปีที่ผ่าน แถมตอนนี้โดนโจมตีอย่างหนักโดยการโหนกระแสของ กปปส. เพื่อเรียกแขกมากขึ้น โดยข้อกล่าวหาร้ายแรงว่า กลุ่ม ปตท. คือน้ำเลี้ยงสำคัญของระบอบทักษิณ บ้างก็ว่า “ทักษิณ” เป็นเจ้าของ ปตท. และไม่น่าเชื่อว่า ข้อมูลเบสิค ๆ แบบนี้ ที่ฟังพวกแกนนำที่พูดบนขึ้นเวทีม๊อบ หรือพวกแกนนำนักทวงคืนอย่างผู้สูงวัยท่านหนึ่ง นั้นกลับไม่คิดจะค้นหาข้อมูลด้วยตัวเองและก็เชื่อในทันทีด้วยในอคติว่า หุ้น ปตท ทักษิณทักษิณ เป็นเจ้าของ ปตท. และ ปตท.คือต้นเหตุทำให้น้ำมันแพง และที่น่าแปลกอีกอย่างหนึ่ง ถ้าพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพรรคที่ทักษิณสนับสนุนได้เป็นรัฐบาล กระแสทวงคืน ปตท.นั้นเงียบเป็นเป่าสากไม่มีใครพูดถึง ดังนั้นทีมงานก็เลยไปค้นข้อมูลข้อเท็จจริงว่า ปตท. เป็นของใคร ใครกันแน่คือเจ้าของ ปตท. ที่แท้จริง แล้วเราจะทวงคืนทำไม ทวงคืนให้ใคร? เปิดหลักฐานหลังจากการแปรรูปจากรัฐวิสาหกิจเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจุดเริ่มมาจากการออกพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจปี พ.ศ.2542 ในยุครัฐบาลชวน 2แต่ดันมาเข้าตลาดตอนยุครัฐบาลทักษิณ เลยกลายเป็นว่าทักษิณต้องเป็นแพะรับบาปว่าเป็นผู้ที่ฮุบหุ้น ปตท.ทั้งหมดให้ตระกูลชินวัตรเป็นเจ้าของ ทีนี้เราต้องมาเจาะดูว่า (ปตท. เป็นของใคร) ใครถือหุ้นใหญ่ ปตท. ผู้ถือหุ้นใหญ่ ปตท. นั้นหาง่ายมาก ๆ ได้จากเว็บไซด์ settrade.com ได้ผู้ถือหุ้นใหญ่ดังภาพนี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ปตท. จะเห็นได้ว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ยังคงเป็นกระทรวงการคลัง ประมาณ 51% ซึ่งคนไทยเป็นเจ้าของร่วมกัน และกองทุนวายุภักษ์ทั้ง 2 กอง ก็เป็นกองทุนของภาครัฐที่ทั้งหน่วยงานรัฐและประชาชนคนไทยทั่วไปสามารถลงทุน ในกองทุนนี้ได้ รวมกันอีก 15% นอกจากนี้ยังมีกองทุนประกันสังคมที่เป็นของคนไทยทุกคนอีก 1% สรุปรวมๆแล้วก็เป็นของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 67% จะเห็นได้ว่าจริง ๆ แล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ก็คือภาครัฐซึ่งส่วนนี้เป็นของคนไทยทุก ๆ คนอยู่แล้ว แล้วที่เหลือล่ะ เป็นนักลงทุนคนไทยรายย่อย 16% จากการตรวจสอบสมุดบัญชีผู้ถือหุ้นของ ปตท. ก็พบว่า คนในตระกูลชินวัตรจริง ๆ ได้แก่ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร และนายพอพงษ์ ชินวัตร ถือหุ้นเพียง 7,700 หุ้น จาก 2.85 พันล้านหุ้น หรือ 0.0002% เท่านั้น ถือว่าน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญที่จะไปครอบงำเพื่อกำหนดนโยบายหรือทิศทาง อะไรได้เลยใน ปตท. เป็นการลงทุนตามปกติที่ใคร ๆ ก็เข้าไปซื้อได้ในตลาดหลักทรัพย์ [ธนาคาร JPMorgan Chase & Co.] ธนาคาร JPMorgan Chase & Co. แล้วส่วนที่เป็นของนักลงทุนต่างชาติ 18% ล่ะ จะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นสถาบันการเงินและกองทุนนอมินี บ้างก็บอกว่ากองทุนนอมินีเหล่านี้เป็นของทักษิณทั้งหมด ยกตัวอย่าง CHASE NOMINEE LIMITED ผู้ถือหุ้นลำดับที่ 5 จำนวน 2.53% นั้น เจ้าของกองทุนนี้คือ JP Morgan Chase & Co. (iv) หรือ JPM ซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกา ถือหุ้นใหญ่โดยสถาบันการเงินของต่างประเทศหลายต่อหลายแห่ง JPM มูลค่าสินทรัพย์ทั้งสิ้น 2.4 ล้านล้านดอลล่าสหรัฐฯ หรือ 72 ล้านล้านบาท !!!! นี่มันเป็นตัวเลขงบประมาณของประเทศไทยได้ถึงเกือบ 30 ปีเลยทีเดียว แค่ตัวอย่างนี้ตัวอย่างเดียวเท่านั้น ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าทักษิณเป็นเจ้าของนอมินีทุก ๆแห่ง ก็แสดงว่า ทักษิณแทบจะซื้อทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ได้อย่างแน่นอน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เรื่องดังกล่าวนี้ไม่มีมูลความจริงใด ๆ ทั้งสิ้น กล่าว โดยสรุป เจ้าของ ปตท.ทีแท้จริงก็คือ กระทรวงการคลัง เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ที่เป็นของคนไทยทุกคนอยู่แล้ว และนักลงทุนรายย่อยทั้งไทยและเทศ ที่คนไทยทุก ๆ คนสามารถจะมีหุ้นได้โดยสามารถซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้ทุกวันทำการ ก็ไม่รู้จะทวงคืนไปทำไม ทวงไปก็ไม่ได้น้ำมันถูกลง เพราะที่มันแพงก็แค่น้ำมันกลุ่มเบนซินที่เก็บภาษีและกองทุนน้ำมันเพิ่มขึ้น มามากทำให้ราคาแพง และเงินกองทุนน้ำมันก็เอาไปจ่ายชดเชยให้ก๊าซหุงต้มที่นำเข้ามาจากตลาดโลกมา ขายในประเทศถูกๆและพวกแก๊สโซฮอล E20, E85 รวมถึงชดเชยภาษีในส่วนของน้ำมันดีเซลที่คนไทยส่วนใหญ่ใช้มากกว่า 50% เพื่อควบคุมราคาไม่ให้เกิน 30 บาทต่อลิตร ที่จะส่งผลต่อค่าขนส่งสินค้าจนกระทบกับค่าครองชีพของคนไทยทุกคน ทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายของภาครัฐ ไม่เกี่ยวกับ ปตท. ซึ่งไม่ว่ารัฐบาลไหนเข้ามาก็ลดราคาน้ำมันกลุ่มเบนซิน แก๊สโซฮอล E10 มากไม่ได้เพราะจะทำให้กองทุนน้ำมันติดลบ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้ ปี 2555 ทั้งนี้ ไม่ได้เกี่ยวกับ ปตท. ค้ากำไรเกินควรอะไรเลย เพราะกำไร ปตท. ประมาณแสนล้านบาทนั้น มาจากยอดขายประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท คิดเป็น 3% กว่าๆเท่านั้นเอง (ฝากสหกรณ์ยังได้ดอกเบี้ยมากกว่าด้วยซ้ำ) ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทน้ำมันแห่งอื่น ๆ และกำไรที่มาจากการลงทุนไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการลงทุนไปต่างประเทศมากมาย เป็นผลมาจากการแปรรูป ปตท. ทำให้มีความสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติ เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทย ทำให้คนไทยไม่ต้องต่อคิวซื้อน้ำมัน ไม่มีปัญหาไฟฟ้าติดๆดับๆ ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ปตท.ขูดรีดคนไทยก็ไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เปิดหลักฐานปตทเป็นของใ/
  13. น่าแปลกใจที่ในสถานการณ์ด้านพลังงานค่อนข้างมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ (ประชาชนหลายท่าน มักรู้สึกว่าแพงเกินไป โดยปราศจากความเข้าใจพื้นฐานโครงสร้างพลังงาน) แทนที่จะช่วยกันทำความเข้าใจเรื่องโครงสร้างราคาพลังงาน รวมถึงการรณรงค์ให้ประหยัดพลังงานเพื่อลดการนำเข้า แต่มีกลุ่มคนบ้างกลุ่ม อาศัยความรู้สึกทางสังคมที่เกิดความน้อยเนื้อต่ำใจในรายได้ ตั้งเป้าโจมตีว่าเงินเดือนผู้บริหารใน บ.พลังงาน เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ราคาพลังงานแพง โดยข้อมูลที่หยิบยกมานั้น จะเป็นข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือรายงานประจำปี ซึ่งไม่ระบุเป็นรายบุคคล แต่เป็นรายจ่ายเงินเดือนรวม เนื่องจากเงินเดือนถือเป็นความลับระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง จึงมักมีการนำตัวเลขรายได้ทั้งหมดมาหารค่าเฉลี่ยเป็นเงินเดือน ซึ่งอันที่จริงเป็นตัวเลขที่ไม่ถูกต้องเสียทีเดียว เพราะในเงินก้อนนั้นๆ ยังรวมถึงโบนัส ค่าเบี้ยประชุมต่างๆ จึงทำให้ตัวเลขที่ยกมานั้น ดูเป็นตัวเลขเงินเดือนที่สูงมาก และมักนำไปเปรียบกับตำแหน่งระดับสูงๆ จากภาครัฐ เช่น นายกรัฐมนตรี ยิ่งสร้างความเข้าใจผิดในกลุ่มคนที่อาศัยโลกโซเชียล ที่ขาดสติในการบอกและแชร์ต่อความจริง คำถามคือ เงินเดือนผู้บริหาร ปตท. นั้น สูงตามที่กล่าวหาจริงหรือ คำตอบคือไม่ได้สูงดังคำกล่าวอ้าง เพราะตัวเลขดังกล่าวเป็นการรวมทั้งปี แถมยังเอาโบนัส และเบี้ยประชุมมารวมเข้าไป อย่างไรก็ตาม เงินเดือนผู้บริหาร ปตท. รวมไปถึง กลุ่มผู้บริหารในบริษัทต่างๆ ที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ โดยเฉพาะบริษัทชั้นนำต่างๆ ได้มีการกำหนดรายละเอียดค่าตอบแทนเงินเดือนตามความสามารถและความรับผิดชอบ และไม่ใช่เพียงเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. เท่านั้น แต่ธุรกิจด้านอื่นๆ เช่น ธุรกิจการบิน โทรคมนาคม โรงพยาบาล การเงิน ความงาม ล้วนมีรายได้ระดับสูงทั้งสิ้น จึงไม่น่าแปลกใจว่า สาเหตุใด เงินเดือนผู้บริหาร ปตท จึงได้มีเงินเดือนสูงตามที่กล่าวอ้างถึง อย่างไรก็ตามสำหรับใครที่อยากรู้ว่าระบบเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. คิดอย่างไร เราได้นำข้อมูลมาเสนอให้ได้อ่านกันดังนี้ “ปตท. ได้กำหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล มีคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนทำหน้าที่ทบทวน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับภาระความรับผิดชอบของกรรมการ สถานะทางการเงินของบริษัทและเปรียบเทียบกับบริษัทในกลุ่มธุรกิจระดับเดียวกัน โดยกำหนดค่าตอบแทนเป็นเบี้ยประชุมและโบนัส อนึ่ง กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรรมการในคณะกรรมการเฉพาะเรื่องชุดอื่นๆ ก็ให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มตามความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ค่าตอบแทนกรรมการได้รับการขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว ดังนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ • ค่าตอบแทนกรรมการ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2557 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ แยกเป็นดังนี้ 1. ค่าเบี้ยประชุม 1.1 เบี้ยประชุมคณะกรรมการ ปตท. ประกอบด้วย • เบี้ยกรรมการรายเดือน เดือนละ 30,000 บาท (เท่ากับอัตราเดิม) • เบี้ยประชุม เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม ครั้งละ 50,000 บาท (เท่ากับอัตราเดิม) โดยจำกัดการจ่ายเบี้ยประชุม ไม่เกินปีละ 15 ครั้ง 1.2 เบี้ยประชุมคณะกรรมการอื่น ที่คณะกรรมการ ปตท. แต่งตั้ง ได้แก่ 1.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ • เบี้ยกรรมการรายเดือน เดือนละ 15,000 บาท • เบี้ยประชุมครั้งละ 15,000 บาท (เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) และเลขานุการฯ ได้รับเบี้ยประชุมเดือนละ 7,500 บาท 1.2.2 สำหรับคณะกรรมการอื่น อีก 3 คณะ คือ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดีกำหนดเบี้ยประชุมครั้งละ 24,000 บาท (เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) 1.2.3 สำหรับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่เมื่อปี2556 และคณะกรรมการชุดย่อยอื่น ที่อาจมีการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทตามความจำเป็นและเหมาะสมในอนาคต กำหนดเบี้ยประชุม ครั้งละ 24,000 บาท เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม 1.3 ประธานกรรมการของทุกคณะฯ ให้ได้รับสูงกว่ากรรมการ ในอัตราร้อยละ 25 • เงินโบนัสกรรมการ ปตท. ประจำปี 2557 กำหนดค่าตอบแทนที่เป็นเงินโบนัสให้สะท้อนและเชื่อมโยงกับผลประกอบการหรือกำไรสุทธิของ ปตท. ในอัตราเท่ากับร้อยละ 0.05 ของกำไรสุทธิประจำปี 2557 แต่กำหนดวงเงินสูงสุดไม่เกิน 3,000,000 บาทต่อคนต่อปี (เท่ากับอัตราเดิม) และให้คำนวณจ่ายตามระยะเวลาการดำรงตำแหน่งและประธานกรรมการ ปตท. ได้รับสูงกว่ากรรมการฯ ในอัตราร้อยละ 25 • ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่กรรมการ ปตท. กำหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานของ ปตท. ตามระบบประเมินผลรัฐวิสาหกิจ (Performance Agreement: PA) กำหนดโดยกระทรวงการคลังซึ่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารทุกระดับร่วมกันกำหนดตัวชี้วัดและตั้งค่าเป้าหมาย (Key Performance Indicators: KPIs) ไว้แต่ละปี เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจและนำไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารทุกระดับ โดยคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณากำหนดค่าตอบแทนให้สะท้อนถึงผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) ตลอดจนแนวปฏิบัติและมาตรฐานของกลุ่มธุรกิจชั้นนำประเภทเดียวกัน พร้อมทั้งนำเสนอหลักการและจำนวนค่าตอบแทนที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาและอนุมัติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารของ ปตท. ตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) (เนื่องจาก ปตท. มีการปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 จึงมีผลให้จำนวนผู้บริหารตามคำจำกัดความของสำนักงาน ก.ล.ต. ก่อนการปรับโครงสร้าง คือ 1 มกราคม – 30 เมษายน 2557 มีจำนวน 10 ท่าน ในขณะที่ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นไป มีจำนวน 5 ท่าน) และไม่รวมผู้บริหารระดับสูงที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น ที่มาปฏิบัติงานที่ ปตท. ได้รับค่าตอบแทน จาก ปตท. ตามรายละเอียด ดังนี้ สุดท้าย สำหรับใครที่ยังคงคิดว่าเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ราคาน้ำมันแพง ลองพิจารณาตรรกะนี้กันสักนิด “คนไทยใช้น้ำมันวันละ 90 ล้านลิตร คิดเป็นสูตร 1 เดือน 90 x 30 เท่ากับ 2,700 ล้านลิตรต่อเดือน ดังนั้น ถ้าจะให้ราคาน้ำมันลดลง 0.01 บาทต่อลิตร ต้องใช้เงินจำนวน 27 ล้านบาท จากตัวข้างต้น ลองคิดง่ายๆ ถ้าเงินเดือนผู้บริหาร ปตท. กับ พนง. ไม่รับเงินเดือน จำนวน 27 ล้านบาทต่อเดือน เอาเงินส่วนนั้นมาลดค่าน้ำมัน ราคาจะลดลง 0.01 บาทต่อลิตร (แล้วเป็นการเอาเปรียบหรือไม่ที่ให้พวกเขาทำงานฟรี เพื่อให้เราได้ใช้น้ำมันถูกลง) ในทางกลับกันถ้าเพิ่มเงินเดือนผู้บริหาร ปตท อีก 27 ล้านบาทต่อเดือน ทำให้ราคาน้ำมันแพงขึ้นเพียง 0.01 บาทต่อลิตรเท่านั้น” ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/เงินเดือนผู้บริหาร-ปตท/
  14. มีความเข้าใจผิดในเรื่องนี้ออกมาอยู่เนือง ๆ ในกรณีที่ผู้บริโภคบางกลุ่ม มองว่าราคาน้ำมันเมืองไทยแพงเกินไป และ ปตท. เป็นต้นเหตุของราคา เพราะปตท. เป็นผู้กำหนดราคาขายน้ำมันในประเทศ ตรงนี้จะขอนำส่วนหนึ่งของคำแถลงที่ทาง ผู้บริหารของ ปตท. ได้ตั้งโต๊ะแถลง หลังจากมีประเด็นร้อนว่อนในโลกโซเชียลในด้านลบกับ บริษัท ปตท. กำหนดราคาน้ำมันที่เอาเปรียบประชาชน จนได้กำไรสูงเป็นแสนล้านบาท พร้อมชักชวนบอยคอตเติมน้ำมันที่ปั๊มของ ปตท. “นายเทวินทร์ กล่าวว่า ปี 2560 ราคาน้ำมันทั้งปีเฉลี่ยเป็นขาขึ้น โดย ปตท. มีการปรับขึ้น 21 ครั้ง ปรับลง 21 ครั้ง แต่ราคาหน้าปั๊มขายต่ำกว่าต่างชาติ 20 วัน ไม่เคยขายแพงกว่ารายอื่นเลย แม้แต่ช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ตั้งแต่ 6 เม.ย. – 28 พ.ค. 2561 ปตท.ปรับขึ้นราคาน้ำมัน 6 ครั้ง ปรับลง 1 ครั้ง โดยไม่เคยมีช่วงเวลาที่ขายแพงกว่าเจ้าอื่น แต่มีช่วง 9 วันในช่วง 50 วันที่ขายถูกกว่าปั๊มอื่น” การที่มีช่วงเวลาที่ ปตท. ขายถูกกว่าปั๊มอื่น และไม่มีช่วงเวลาไหนเลยที่ ปตท. จะขายแพงกว่าปั๊มอื่น นั่นเป็นหลักฐานชัดเจนว่า ปตท. ไม่ได้เป็นผู้กำหนดราคาน้ำมันในประเทศ แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาขายได้อย่างเสรี ผ่านค่าการตลาด (ส่วนราคา ณ โรงกลั่นใช้ราคาอ้างอิงตลาดสิงคโปร์ ในขณะที่ภาษีและกองทุนต่าง ๆ รัฐบาลเป็นคนกำหนด) แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดค่าการตลาด เท่าไหร่ก็ได้ จะเก็บค่าการตลาดลิตรละ 100 บาท หรือลิตรละแค่ 10 สตางค์ก็สามารถทำได้ตามหลัก รัฐเพียงแค่มีการเสนอตัวเลขค่าการตลาดที่เหมาะสมเอาไว้ (แต่ไม่ได้บังคับให้ทำตาม) ซึ่งอย่าลืมว่าค่าการตลาด ยังไม่ได้หักส่วนค่าใช้จ่ายภายในปั๊มทั้งหมดจะเป็นค่าขนส่งน้ำมัน ค่าจ้างเด็กปั๊ม ค่าน้ำมันค่าไฟ ฯลฯ ดังนั้นหากค่าการตลาดต่ำเกินไป ปั๊มก็จะขาดทุนและต้องปิดตัวลง จากที่กล่าวมาจะเห็นว่า แต่ละปั๊ม แต่ละแบรนด์สามารถกำหนดราคาได้เองอย่างเสรี เพียงแค่จ่ายภาษีและกองทุนต่าง ๆ ตามที่รัฐกำหนดเท่านั้น ซึ่งไม่ได้มีแบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งที่สามารถกำหนดราคาขายของทั้งตลาดได้ อย่างที่เข้าใจผิดกัน ขอขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/ราคาน้ำมันใครกำหนด-ปตท/
  15. ตามที่ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคได้แถลงข่าวว่าได้ดำเนินการยื่นฟ้องเจ้าหน้าที่ของรัฐว่าประพฤติมิชอบในการแบ่งแยกทรัพย์สินของ ปตท. ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2561 โดยศาลได้นัดฟังคำตัดสินว่าจะรับเป็นคดีหรือไม่ ในวันที่ 19 มิถุนายน 2561 นั้น จากข้อเท็จจริงที่มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคแถลงข่าว ปตท. ขอเรียนว่า กรณีเดียวกันนี้ น.ส.รสนา โตสิตระกูล และนางสาวบุญยืน ศิริธรรม ได้เคยเป็นโจทย์ยื่นฟ้องคดีต่อศาลอาญาคดีทุจริต(คดี ปตท. คือท่อก๊าซไม่ครบ หรืออมท่อ) และประพฤติมิชอบกลางไปแล้ว เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560 และศาลอาญาคดีทุจริตฯท่อก๊าซ (อมท่อ) ได้มีคำพิพากษายกฟ้องคดีดังกล่าวเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 ต่อมาโจทก์ทั้งสองได้ยื่นอุทธรณ์คดี ซึ่งศาลอุทธรณ์ก็ได้มีคำพิพากษาลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2560 ยืนตามคำพิพากษาของศาลอาญาคดีทุจริตฯ คดี(ปตท. อมท่อ)ดังกล่าวจึงถึงที่สุด ทั้งนี้ ปตท. ขอเรียนยืนยันว่า ปตท. ได้ดำเนินการแบ่งแยกและส่งมอบทรัพย์สิน(ท่อก๊าซ)ให้แก่กระทรวงการคลังตามคำพิพากษาศาลฯ คดีหมายเลขแดงที่ ฟ.35/2550 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และศาลปกครองได้มีคำสั่งยืนยันในเรื่องดังกล่าวหลายครั้งแล้ว ตั้งแต่ปี 2551 – 2559 ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/แถลง-คดี-ปตท-อมท่อ-คืนท่อ/
×
×
  • สร้างใหม่...