ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 
tt2518

ขอเดา(ราคาทอง)กับเขาบ้าง

โพสต์แนะนำ

ถ้าไปสังเกตุจุด ต้านรับ ห่างหน่อย เพื่อจะสามารถทำกำไร มีแววไหม ! ถ้าเรายึดราคาตรงนี้ 1558 เพื่อหาจังหวะเล่น

ถูกแก้ไข โดย เด็กขายของ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ศูนย์กสิกรฯคาดปีนี้เงินบาทอยู่ที่ 28.05-31.00 บาท/ดอลล์,Flow หนุนแข็งค่า

 

 

น.ส.กาญจนา โชคไพศาลศิลป์ ผู้จัดการฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจมหภาค บริษัท ศูนย์กสิกรไทย จำกัด เปิดเผยว่า กรณีที่เงินบาทแข็งค่าขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยวานนี้เงินบาทแข็งค่าที่สุดในรอบ 16 ปี อยู่ที่ 28.89 บาท/ดอลลาร์ เป็นการทำ New High ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ ธนาคารกลางญี่ปุ่น(BOJ) ดำเนินนโยบายผ่อนคลายเชิงรุกมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ทำให้สกุลเงินเยนอ่อนค่า ประกอบกับตัวเลขการจ้างงานของสหรัฐฯออกมาไม่ค่อยดีอย่างที่คาดการณ์ จึงมีแรงขายดอลลาร์ในตลาด ฉะนั้นภาพรวมต่างๆ จึงทำให้เงินบาทปรับตัวแข็งค่าขึ้น รวมถึงในช่วงนี้มี market talk ว่าจะมีการ Settle เงินในส่วนที่เป็นต่างชาติเข้ามาซื้อกองทุนที่เป็น BTS เลยทำให้เป็นภาพที่มี in flow เข้ามาอย่างต่อเนื่องและนักลงทุนต่างชาติก็ยังอยู่ในสถานะซื้อสุทธิในตลาดพันธบัตร

"FED ทำ QE แบงค์ชาติญี่ปุ่นทำ QE ทำให้มี Flow เข้ามาเอเชีย เติมเข้ามาในตลาดเงิน ตลาดทุนไทย แต่ทางฝั่งยุโรปจะเป็นตัวแปรที่มาทำให้ภาพต่างๆ เหล่านี้มีความไม่แน่นอน อย่างยุโรปก็ยังคงมีเรื่องของวิกฤตหนี้อยู่ ฉะนั้นถ้าเป็นเรื่องของ Movement ปัจจัยต่างๆของต่างประเทศก็ต้องจับตาดู 2 ตัว คือ การดำเนินนโยบายการเงินเชิงผ่อนคลายของ FED และ BOJ และ ดู Sentiment วิกฤตหนี้ยูโรโซนว่าจะไถลลงไปใหม่หรือไม่" เอกสารเผยแพร่ ระบุ

ทั้งนี้คาดการณ์ว่าทั้งปีเงินบาทจะอยู่ที่ 28.05-31.00 บาท/ดอลลาร์ ซึ่งมองว่าแนวโน้มเงินบาทจากนี้ไปจะเป็นการทยอยไปในด้านที่แข็งค่าขึ้นเรื่อยๆ โดยระดับเงินบาทแข็งค่าขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ธนาคารแห่งประเทศไทยออกมาส่งสัญญาณที่ชัดมากขึ้นว่าเงินบาทแข็งค่าเร็วเกินไป ธปท.ก็คงออกมาดูแลมากขึ้นเนื่องจากเป็นเรื่องที่สำคัญ โดยมองว่า ธปท.จะไม่ได้ดูที่ระดับของค่าเงินเพียงอย่างเดียว แต่อาจจะเปรียบเทียบดูกับสกุลเงินต่างๆในภูมิภาค ซึ่งก็คงดูในเรื่องของจังหวะว่า อธิบายได้หรือไม่ว่าเป็นการเคลื่อนย้ายของเงินทุนประเทศที่มีความกังวล

"เห็นว่ามีเจ้าหน้าที่ของแบงค์ชาติเข้ามาเปรียบเทียบระหว่างค่าเงินบาทกับตัวบางสกุลในเอเชีย เช่น เงินริงกิต ซึ่งเป็นการเทียบ ณ สิ้นเดือนมกราคม ทำให้มีภาพสะท้อนว่า เงินบาทกับริงกิตก็ไปด้วยกัน คือแข็งค่าขึ้น 21% กว่าๆ ก็ยังเป็นภาพที่บาทล้อกับบางสกุลเงินภูมิภาคได้อยู่ แต่หากนับจากต้นเดือนมกราคม เงินบาทจะแข็งค่าที่สุดเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาค โดยระดับเงินบาทก็เป็นอีกหนึ่งตัวที่แบงค์ชาติดูแลอยู่ รวมถึงตัว Compare กับสกุลเงินก็เป็นอีกหนึ่งตัวที่ยังคงติดตาม ฉะนั้นสิ่งที่แบงค์ชาติสื่อสารออกมาก็คือ เขายังคงดูแลและติดตามภาวะการเคลื่อนไหวของค่าเงินอย่างใกล้ชิด" เอกสารเผยแพร่ ระบุ

สำหรับมาตรการต่างๆ ที่ ธปท.จะนำมาใช้หรือไม่นั้นมองว่าอาจจะมีการใช้เมื่อจำเป็นมากกว่า แต่ขณะที่ ธปท.ออกมาส่งสัญญาณถึงการแข็งค่าของเงินบาทก็ส่งผลให้ตลาดมีการเบรกตัวเองเหมือนกัน โดย ธปท.ได้เข้ามาสร้างพื้นที่ไม่ให้เงินบาททะลุหรือเคลื่อนไหวลงไปเรื่อยๆ ซึ่งภาพในระยะข้างหน้าถึงแม้ว่าเงินบาทจะแข็งค่าอยู่ก็อาจจะเป็นการทยอยแข็งค่ามากกว่า โดย ธปท.ก็จะเข้ามาดูแลเป็นจังหวะๆ ก็มองว่าการแข็งค่าของเงินบาทหลังจากนี้เป็นต้นไปอาจจะเป็นภาพที่ยังเห็นอยู่ เนื่องจากยังมีเงินทุนไหลเข้ามา

ผู้จัดการฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจมหาภาค บริษัท ศูนย์กสิกรไทย จำกัด กล่าวว่า ทางศูนย์วิจัยกสิกรได้จัดทำสมมุติฐานของค่าเงินที่ใช้ในการประมาณการณ์ ซึ่งศูนย์วิจัยกสิกรฯ ได้ใช้ค่าเฉลี่ยเงินบาทปีนี้ทั้งปีอยู่ที่ 29.05 บาท/ดอลลาร์ ซึ่งหากเงินบาททยอยแข็งค่าที่มีระดับปิดที่สิ้นปีอยู่ที่ 28.05 บาท/ดอลลาร์ ค่าเฉลี่ยของเงินบาทที่ 29.05 บาท/ดอลลาร์ ยังพอจะยืนอยู่ได้ ส่วนด้านการส่งออกและจีดีพีก็จะขยายตัวได้ตามการคาดการณ์ โดยอยู่ที่ 4.8% ซึ่งจากการวิจัยระดับของค่าเงินบาท เมืองเปรียบเทียบกับทิศทางเศรษฐกิจและการส่งออก พบว่า ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นทุก 1% จะกดให้จีดีพีลดลง 0.1-0.3% และการส่งออกจะลดลง 0.6-1.1%

อย่างไรก็ตามที่ยังคงต้องติดตาม คือ มาตรการของการใช้นโยบายเชิงผ่อนคลายของธนาคารกลางญี่ปุ่น และธนาคารกลางสหรัฐฯ รวมถึงวิกฤตหนี้ยุโรป ที่ยังเป็นภาพที่ไม่ค่อยชัด โดยต้องติดตามประเทศสโลวีเนีย และประเทศสเปน ที่ยังคงมีปัญหาเกี่ยวกับภาคเศรษฐกิจทางการคลัง และปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ คือ BANKING SECTOR เข้ามาอีก จึงต้องจับตาเป็นพิเศษ รวมถึงต้องติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจทางธนาคารกลางสหรัฐและอิตาลี ที่อาจทำให้ฐานะทางการคลังถดถอยลงไปได้

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

อียูเตือนสเปน, สโลวีเนียมียอดขาดทางเศรษฐกิจมากเกินไป

 

 

ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พฤหัสบดีที่ 11 เมษายน 2556 16:27:36 น.

คณะกรรมาธิการยุโรป (อีซี) ระบุว่าสเปนและสโลวีเนียให้เป็นสองประเทศสมาชิกที่มียอดขาดดุลทางเศรษฐกิจมากเกินไป

 

รายงานของอีซีซึ่งประเมินภาวะเศรษฐกิจของ 13 ประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป (อียู) ระบุว่า “สเปนและสโลวีเนียมียอดขาดดุลที่มากเกินไป"

 

นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการยังเปิดเผยว่า วาระการปฏิรูปเศรษฐกิจของสเปนนั้นไม่สมบูรณ์ และเตือนว่าสเปนอาจเผชิญกับภัยคุกคามอย่างชัดเจนอันได้แก่ ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง การชำระคืนหนี้สินและความไม่แน่นอนในการเข้าถึงตลาดเพื่อระดมทุน

 

 

 

“แม้แต่การปฏิรูปที่ได้ดำเนินการไปแล้วก็ไม่ได้ก่อให้เกิดผลอย่างเต็มที่ อันเนื่องจากความล่าช้าในการดำเนินงาน" รายงานกล่าว

 

นายออลลี เรห์น รองประธานฝ่ายกิจการเศรษฐกิจและการเงินของอีซีกล่าวว่า “หนี้สินทั้งในและต่างประเทศที่อยู่ในระดับที่สูงมากของสเปนยังคงก่อความเสี่ยงรุนแรงต่อการขยายตัวและเสถียรภาพทางการเงิน"

 

สำหรับสโลวีเนียนั้น มีความเสี่ยงสูงสำหรับเสถียรภาพของภาคการเงินซึ่งมีสาเหตุมาจากหนี้สินและการชำระคืนหนี้ ซึ่งรวมถึงความเสี่ยงผ่านทางการเชื่อมโยงระหว่างกันกับฐานะการคลังสาธารณะ

 

รายงานยังพบว่า ประเทศสมาชิก 11 ประเทศที่มียอดขาดดุลงบประมาณไม่มากเกินไป ได้แก่ เบลเยียม บัลแกเรีย เดนมาร์ค ฝรั่งเศส อิตาลี ฮังการี มอลตา เนเธอร์แลนด์ ฟินแลนด์ สวีเดน และอังกฤษ

 

อย่างไรก็ตาม รายงานได้ระบุเตือนฝรั่งเศส ซึ่งมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 ในยูโรโซน ถึงความยืดหยุ่นที่ลดลงในการรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจที่ฉับพลันจากภายนอกประเทศ และกล่าวว่าการขาดดุลที่ต่อเนื่องยาวนานจะส่งผลกระทบมากขึ้นต่อแนวโน้มขยายตัวของเศรษฐกิจในระยะกลาง

 

ทั้งนี้ นายเรห์นได้กระตุ้นให้ฝรั่งเศสควบคุมหนี้สาธารณะที่กำลังเพิ่มขึ้นโดยการใช้มาตรการรับมืออย่างถาวร สำนักข่าวซินหัวรายงาน

 

อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย วรัญญา อุดมกุศลศรี/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: panaiyada@infoquest.co.th--

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ภาพข่าว: ศูนย์วิจัยทองคำเปิดเผยดัชนีความเชื่อมั่นทองคำครั้งแรก

 

 

ข่าวเศรษฐกิจ ThaiPR.net -- พฤหัสบดีที่ 11 เมษายน 2556 15:41:16 น.

 

ดูรูปทั้งหมด

กรุงเทพฯ--11 เม.ย.--ธามดี พลัส

ดร.ภูษิต วงศ์หล่อสายชล (ขวา) และนายกมลธัญ พรไพศาลวิจิต ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ ร่วมแถลงดัชนีความเชื่อมั่นเดือนเมษายนที่ระดับความเชื่อมั่นเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากปัจจัยหนุนหนี้ยุโรปยังไม่จบ แต่มีปัจจัยกดดันหลายปัจจัย อาทิ ดอลลาร์แข็งค่า การขายของกองทุนขนาดใหญ่ รวมถึงความกังวลเรื่องค่าเงินบาท พร้อมประเมินราคาทองคำในกรอบ 21,500-23,000 บาท

 

ติดต่อ:

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

สำหรับแนวรับแนวต้านของค่ำคืนนี้

 

Supports: 1554.28, 1550.50, 1542.90, 1537.15, 1535.50

Resistances: 1560.00, 1565.30, 1572.18, 1580.05

 

http://www.fxstreet.com/technical/forex-forecasts/todays-gold-forecast/2013/04/11/

::

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Initial Jobless Claims

 

Actual:346K

Forecast:365K

Previous:388K

Importance: Currency:USDSource Of Report:Department of Labor (Release URL)

OverviewChartHistory

Initial Jobless Claims measures the number of individuals who filed for unemployment insurance for the first time during the past week. This is the earliest U.S. economic data, but the market impact varies from week to week.

 

A higher than expected reading should be taken as negative/bearish for the USD, while a lower than expected reading should be taken as positive/bullish for the USD.

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Import Price Index (MoM)

Actual:-0.5%

Forecast:-0.5%

Previous:0.6%

Importance: Currency:USDSource Of Report:US Department of Labor (Release URL)

OverviewChartHistory

The Import Price Index measures the change in the price of imported goods and services purchased domestically.

 

A higher than expected reading should be taken as positive/bullish for the USD, while a lower than expected reading should be taken as negative/bearish for the USD.

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

8:30a

U.S. export prices decrease 0.4% in March : ราคาสินค้าส่งออก ลดลง 0.4% ในเดือนมีนาคม > ทำให้สินค้าสหรัฐฯ ขายได้เพิ่มขึ้น

Drop in import prices mainly tied to fuel costs > ราคาสินค้านำเข้าลดลง โดยเฉพาะ ต้นทุนน้ำมันดิบ ได้ลดต่ำลง ประหยัดเงินตรา

U.S. import prices fall 0.5% in March > ราคาสินค้านำเข้า ลดลง 0.5% ในเดือนมีนาคม > ลดการขาดดุลการค้า

 

 

Continuing claims decline 12,000 to 3.08 million การลงทะเบียนตกงานแบบต่อเนื่องลดลง 12,000 คนมาที่ื 3.08 ล้านคน

Four-week claims average rises 3,000 to 358,000

8:30a Weekly jobless claims drop 42,000 to 346,000 ตัวเลขการลงทะเบียนว่างงานลดลง 42,000 คนมาที่ 346,000 คน

ถูกแก้ไข โดย เด็กขายของ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ขึ้นๆลงๆ แล้วก็มาจุดกึ่งกลางอีกแล้ว 1558

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ตัวเลขออกมาดีขนาดนี้แล้วใยนิ่ง สะชนาดนี้ วันนี้ซื้อปินฉีดน้ำแถว สะพานเหล็ก มาถูกมากกกก

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ตัวเลขออกมาดีขนาดนี้แล้วใยนิ่ง สะชนาดนี้ วันนี้ซื้อปินฉีดน้ำแถว สะพานเหล็ก มาถูกมากกกก

แล้วทดลองฉีดดูหรือเปล่า ว่าน้ำไม่รั่ว ฉีดแรงดี หุหุ วันนี้ ก็ไปทดสอบมา แรงดีจริงๆๆ ถ้าฉีดแบบนี้

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Bloomberg Consumer Confidence

 

Actual:-34.0

Forecast:

Previous:-34.1

Importance: Currency:USDSource Of Report:Bloomberg (Release URL)

OverviewChartHistory

The Bloomberg Consumer Confidence Index measures views on the condition of the U.S. economy, personal finances and the buying climate. The survey was formerly sponsored by ABC News since 1985.

 

A higher than expected reading should be taken as positive/bullish for the USD, while a lower than expected reading should be taken as negative/bearish for the USD.

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Join the conversation

You can post now and register later. If you have an account, sign in now to post with your account.

ผู้มาเยือน
ตอบกลับกระทู้นี้...

×   วางข้อความแบบ rich text.   วางแบบข้อความธรรมดาแทน

  อนุญาตให้ใช้ได้ไม่เกิน 75 อิโมติคอน.

×   ลิงก์ของคุณถูกฝังอัตโนมัติ.   แสดงเป็นลิงก์แทน

×   เนื้อหาเดิมของคุณได้ถูกเรียกกลับคืนมาแล้ว.   เคลียร์อิดิเตอร์

×   คุณไม่สามารถวางรูปภาพได้โดยตรง กรุณาอัปโหลดหรือแทรกภาพจาก URL

กำลังโหลด...

  • เข้ามาดูเมื่อเร็วๆนี้   0 สมาชิก

    ไม่มีผู้ใช้งานที่ลงทะเบียนกำลังดูหน้านี้

×
×
  • สร้างใหม่...