ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

thekopkkn

ขาใหญ่
  • จำนวนเนื้อหา

    187
  • เข้าร่วม

  • เข้ามาล่าสุด

ทุกๆอย่างที่โพสต์โดย thekopkkn

  1. เจ้ามือหลอกให้หลงคิดว่า ราคาสูงที่จะทะลุแนวต้านที่ 27000 (1950) บาท คงจะไม่มีแล้วล่ะ...(เหมือนปีที่แล้ว) ลูกสลับขามันอยู่ในกำมือเขา ตอนนี้ดูน้ำมันเริ่มส่งสัญญาณแล้ว....
  2. มองภายในสัปดาห์นี้ คงไม่มีอะไรเกิดขึ้น Downside-way 1779-1750 (คิดไว้ส่วนตัว มั่ว ๆ ประมาณนั้น)
  3. ทุกท่านอย่าเพิ่ง สละเรือนะครับ....เจอคลื่นเล็ก ๆ น้อย
  4. Fed's Bullard Says QE3 Was Launched Too Soon (ดีกว่าไม่มา) The Federal Reserve should have waited for clearer signs of a flagging economy before launching its new bond-buying program, the head of the St. Louis regional Fed bank said on Tuesday, adding that he would have voted against it. Tetra Images | Getty Images United States Federal Reserve James Bullard, president of the St. Louis Fed, also told Reuters that he is sufficiently concerned about the risk of future inflation that he backs a controversial proposal by congressional Republicans for the <a href="http://www.cnbc.com/id/43752521/" style="text-decoration: none; color: rgb(45, 100, 138); ">Fed to return to having only a single mandate: preventing inflation. The Fed currently has a dual focus on full employment and stable prices. In discussing his views on more monetary stimulus, Bullard said, "We should take a little bit more (of a) wait-and-see posture." His comments, in an interview with Reuters Insider, highlight potential dissent on the Fed's policy committee next year when he will be a voting member. The U.S. central bank launched a potentially massive policy-easing effort last week to try to help the struggling U.S. economy. Under the program, dubbed QE3 by Wall Street, the Fed will purchase $40 billion a month in mortgage-backed debt until the outlook for the labor market improves substantially. Bullard said the state of the U.S. economy was not dire enough for such a program. Financial stress is pretty low and measures of inflation are right about on target, he said. Equity markets also seemed to indicate a lot of faith in the U.S. economy, he said, saying he would have waited to see what actions were taken in Europe in the fall to fight the region's debt crisis. "I would have voted against it based on the timing. I didn't feel like we had a good enough case to make a major move at this juncture," said Bullard, who has been viewed as a centrist on the spectrum of Fed officials, though in recent months he has sounded opinions that have sounded more hawkish as he has expressed doubts about the need for further stimulus. Nevertheless, Bullard made clear he was concerned about the potential fallout on the United States from a global economic slowdown. "I just would have wanted to wait to see a little bit more about how that's going to develop," he said. But he was not a fan of the European Central Bank's announcement that it would make unlimited purchases in euro zone government bond markets to ensure the common currency survives. "I am concerned about the strategy. I think it has embroiled them (the ECB) in a political situation in Europe. I think this conditionality in exchange for bond purchases is a dangerous precedent for central banks around the world." The U.S. central bank, which cut overnight interest rates to near zero in 2008, has already bought $2.3 trillion in government and mortgage-liked debt in a bid to drive other borrowing costs lower and spur a stronger recovery. Last week's Fed action sparked an uproar among Republicans, who have complained for months the Fed was risking inflation through the unprecedented aggression of its actions. Bullard said he viewed inflation as under control, but said QE3 added to inflation risks. "There is a global slowdown and normally you would think of containing U.S. inflation pressure. I do think we're at risk in the medium term and the longer term for inflation in the U.S., and we're taking more risk on for pursuing this policy," he said in a longer Reuters text interview after his remarks on Insider. He also voiced concern that QE3 could spill over into higher commodity prices, as happened with the previous rounds of Fed bond-buying, although he said the soft tone of the world economy would help curb price rises. Even so, Bullard said some of the contours of the plan, which has no set end date, were in keeping with how he thinks monetary policy should be conducted with interest rates already near zero. Leaving end dates off a bond buying program can make the policy "more effective," he said. "We should go meeting by meeting with any balance sheet policy," Bullard said. QE3 comes on top of an existing stimulus program in which the central bank buys about $45 billion a month in long-term Treasuries while selling the same amount of short-term Treasuries. That program, dubbed Operation Twist and designed to bring down long-term borrowing costs, runs to the end of 2012. Bullard was not alone on Tuesday in voicing doubts over whether QE3 was needed. Dallas Fed President Richard Fisher, a noted inflation hawk, also said he would have voted against the policy if he were a voting member of the Fed's policy committee this year. Two other policymakers - William Dudley of the New York Fed and Charles Evans of the Chicago Fed - voiced strong support for the central bank's decision. The Fed's statement in which it unveiled QE3 last Thursday sparked some controversy by saying monetary policy would likely be kept very easy until long after the economic recovery strengthens. RELATED LINKS Marc Faber: If I Were Bernanke, I Would Resign QE3: Good For the Economy? Trump: QE3 ‘Artificial,’ but Rich Will Love It This was seen as a signal policymakers would tolerate higher inflation, which some economists say could help the economy by goading spending and helping to slowly reduce the country's debt load. Bullard said he was not in that camp. "I don't think there's a lot of benefit from inflation," he said. In fact, he was worried enough about the prospect of inflation down the road that he backed a proposal from congressional Republican critics to curb the Fed's dual mandate of seeking low unemployment in the context of price stability for a solitary focus on preventing inflation. "Anything that the Fed does is going to only have temporary effects," he said. "We have to get back to that notion. Too much is creeping in about the ideas of permanent trade-offs, which I regard as a misunderstanding of what monetary policy could do. So I would back going to a single mandate."
  5. Bank of Japan Eases Monetary Policy as Slowdown Bites (ประกาศลดดอกเบี้ย) The Bank of Japan eased monetary policy on Wednesday by boosting asset purchases, as slowing global demand and heightening tensions with China hurt chances of a near-term recovery in the export-reliant economy. The central bank expanded its asset buying and loan program, currently its key monetary easing tool, by 10 trillion yen ($127 billion) to 80 trillion yen, with the increase to be for purchases of government bonds and treasury discount bills. The deadline for meeting the overall target was extended by six months to December 2013. As widely expected, the central bank maintained its key policy rate in a range of zero to 0.1 percent. BOJ Governor Masaaki Shirakawa will hold an embargoed news conference later on Wednesday with his comments expected to come out some time after 4:15 p.m. (0715 GMT). The BOJ set a 1 percent inflation target and eased policy in February, and followed up with another increase in asset purchases in April. It had stood pat since then, judging that Japan's economy would soon resume a recovery with support from spending for rebuilding from last year's earthquake. But central bank officials have become less convinced of a near-term recovery on growing signs of weakness in exports and output. The widening fallout from anti-Japan protests in China, which is expected to hit Japanese exports in coming months, added to mounting risks to the fragile economy, analysts say.
  6. เยี่ยมครับ อ. "ลากราคาขึ้นมา 1777 ได้แล้ว ลากลงทันทีคนเล่นก็ขาดทุนแย่ แล้วต่อไปใครจะหาเงินมาเล่นด้วย วันนี้ราคาน่าจะออกมาในรูป Swings 1741 - 1763 มากกว่า"
  7. ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ได้ประกาศมาตรการพิมพ์เงินออกมาซื้อพันธบัตรเป็นครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 13 กันยายน (QE3) ซึ่งทำให้ตลาดหุ้นดีใจ และปรับตัวขึ้นกว่า 1.5% ทั้งนี้เพราะมาตรการที่ประกาศเกินความคาดหมายของตลาด คือ เฟดประกาศว่าจะซื้อ MBS (หลักทรัพย์ที่มีบ้านเป็นหลักประกัน) เดือนละ 40,000 ล้านบาทเริ่มต้นวันที่ 14 กันยายนเป็นต้นไปและคงดอกเบี้ยระยะสั้นที่ระดับต่ำไปจนถึงกลางปี 2015 ที่สำคัญคือ จะดำเนินนโยบายผ่อนคลายทางการเงินอย่างยิ่ง (highly accommodative) และเมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัวแล้วก็จะยังดำเนินนโยบายดังกล่าวต่อไปอีกนาน (considerable time after economic recovery strengthens) เป็นที่เข้าใจว่านโยบายทุ่มเงินอย่างไม่จำกัดจำนวนจะดำเนินต่อเนื่องจนกระทั่งการว่างงานปรับตัวลงเหลือ 7% หรือต่ำกว่านั้น มาตรการ QE3 นี้นักวิเคราะห์บางคน บอกว่าน่าจะเรียกว่า “QE infinity” มากกว่า เพราะไม่มีการกำหนดขอบเขตแต่อย่างใด และ Bank of America-Merrill Lynch คาดการณ์ว่าขั้นต่อไปเฟดจะซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอีกเดือนละ 45,000-60,000 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยจะเริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคมเป็นต้นไป แปลว่า เฟดจะพิมพ์เงินเข้าระบบเดือนละเกือบ 100,000 ล้านเหรียญอย่างต่อเนื่องถึงปี 2015 คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 3 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งใหญ่กว่า QE1 และ QE2 รวมกัน ทั้งนี้มาตรการ QE ที่ทำมาในอดีตนั้น ทำให้งบดุลของธนาคารกลางสหรัฐขยายตัวจาก 900,000 ล้านเหรียญมาเป็น 2,800,000 ล้านเหรียญในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา (ขณะที่งบดุลของอีซีบีเพิ่มจาก 1.1 ล้านล้านยูโรมาเป็น 3.1 ล้านล้านยูโรในช่วงเดียวกัน) ทั้งนี้หนี้ของธนาคารกลางนั้นส่วนใหญ่ก็คือธนบัตร (เงิน) ที่พิมพ์ออกมาสู่ระบบเศรษฐกิจนั่นเอง ซึ่งมาตรการคิวอีถือว่าเป็นมาตรการที่เป็นมิตรกับนักลงทุนมากที่สุด เพราะการที่ธนาคารกลางซื้อพันธบัตรคุณภาพดีออกจากมือของประชาชนนั้น ย่อมเป็นการผลักดันให้ประชาชนมีเงินที่จะนำไปลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงอื่นๆ ดังนั้นนักลงทุนจึงมองว่าเมื่อมีข่าวร้ายว่าเศรษฐกิจทรุดตัวลง (เช่น การว่างงานเพิ่มขึ้น) แทนที่จะกลัวว่าผลประกอบการของบริษัทจะตกต่ำลง ก็จะมองว่าธนาคารกลางจะต้องเพิ่มมาตรการคิวอีเพื่อช่วยพยุงเศรษฐกิจ ทำให้นักลงทุนเชื่อมั่นว่าราคาหุ้นจะไม่ตกมีแต่ขึ้น คือ เชื่อว่า Bad news is good news เพราะเมื่อมีข่าวร้ายในเชิงของปัจจัยพื้นฐานก็จะมีมาตรการคิวอี (ข่าวดี) ออกมาพยุงหุ้น เพราะธนาคารกลางสหรัฐสรุปว่าการพยุงหุ้นคือกลไกที่จะช่วยพยุงเศรษฐกิจนั่งเอง สภาวการณ์เช่นนี้นักลงทุนส่วนใหญ่ย่อมมีความพึงพอใจอย่างมากและเกือบทุกคนจะสนับสนุนมาตรการคิวอีอย่างไม่มีเงื่อนไข น้อยคนที่จะมองต่างมุมจากธนาคารกลางของสหรัฐหรืออีซีบี แต่ผมได้พบบทความที่มองต่างมุม 2 บทความซึ่งขอนำมาสรุปให้อ่านในครั้งนี้ครับ บทความแรกเขียนโดย Ruchir Sharma หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์มหภาคของกองทุน Morgan Stanley ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ Financial Times วันที่ 10 กันยายน 2012 สรุปว่าการพิมพ์เงินออกมาเป็นจำนวนมากทำให้เงินทะลักไปสู่การเก็งกำไรในสินค้าโภคภัณฑ์ ราคาอาหารและราคาน้ำมัน เห็นได้จากตาราง 1 ปัญหาคือเมื่อคิวอีทำให้ราคาสินค้าปรับตัวขึ้น กำลังซื้อของประชาชนก็ลดลง แปลว่าคิวอีจะไม่ได้ช่วยให้เศรษฐกิจฟื้นตัวแต่อย่างใด ตัวอย่างเช่นหากคิวอี 3 ผลักดันให้ราคาน้ำมันในตลาดโลกปรับสูงขึ้นเกินกว่า 120 เหรียญต่อบาร์เรลก็จะทำให้ผู้บริโภคต้องใช้เงินเพื่อซื้อน้ำมันคิดเป็นสัดส่วนเกินกว่า 6% ของรายได้ ซึ่งการศึกษาในอดีตพบว่าที่ระดับดังกล่าวผู้บริโภคจะเริ่มลดการบริโภคสินค้าอื่นๆ ซึ่งน่าจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เศรษฐกิจโลกชะลอตัวลงในกลางปี 2010 และ 2011 นอกจากนั้นก็ยังพบว่าเมื่อราคาน้ำมันปรับเพิ่มขึ้น 20 เหรียญต่อบาร์เรล จีดีพีสหรัฐจะลดลง 0.3% และเงินเฟ้อจะปรับเพิ่มขึ้น 0.3% ที่สำคัญคือคิวอีนั้นกระทบคนจนมากกว่าคนรวย เพราะสัดส่วนของรายจ่ายของคนจนที่ต้องนำไปใช้ในการซื้ออาหารและพลังงานนั้นสูงกว่าสัดส่วนของคนร่ำรวยอย่างมาก (ตาราง 2) นอกจากนั้นคนที่รวยที่สุด 10%ของประเทศก็ยังถือหุ้นมากถึง 75% ของหุ้นทั้งหมดอีกด้วย กล่าวคือมาตรการคิวอีนั้นช่วยคนรวยและทำให้คนจนลำบากมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นาย Sharma สรุปว่าธนาคารกลางสหรัฐกำลังพยายามฝืนธรรมชาติในการใช้คิวอีมาอุ้มเศรษฐกิจไม่ให้ตกต่ำอย่างรุนแรง กล่าวคือโดยปกติแล้วเมื่อเศรษฐกิจเผชิญกับวิกฤติทางการเงิน เศรษฐกิจจะตกต่ำอย่างรุนแรงและใช้เวลา 7 ปีกว่าจะฟื้นตัว (เช่นกรณีของไทยในปี 1997 ซึ่งกว่าทุกอย่างจะเข้าสู่สภาวะปกติก็ต้องใช้เวลา 5-6 ปี) แต่ธนาคารกลางสหรัฐพยายามอุ้มให้เศรษฐกิจตกต่ำเล็กน้อยเพียง 1 ปี แต่ก็ส่งผลให้เกิดความบิดเบือนและเกิดผลกระทบข้างเคียงดังกล่าว อีกบทความหนึ่งเขียนโดยนาย Peter Fisher หัวหน้าฝ่ายการลงทุนในตราสารหนี้ของกองทุน BlackRock ลงใน Financial Times เช่นกัน กล่าวตำหนิวิธีคิดของธนาคารกลางสหรัฐว่าการพิมพ์เงินออกมากดดอกเบี้ยลงให้ต่ำทั้งดอกเบี้ยระยะยาวและดอกเบี้ยระยะสั้นนั้นจะไม่ได้ทำให้เกิดการปล่อยสินเชื่อเพิ่ม (ซึ่งจะถูกนำไปลงทุนฟื้นเศรษฐกิจ) แต่อย่างใดเพราะหากคนให้กู้ได้ดอกเบี้ยต่ำเพียง 1-1.5% (พันธบัตร 5-10 ปี) ก็จะทำให้คนไม่อยากปล่อยกู้ กล่าวคือจะต้องตอบให้ได้ว่าหากผลตอบแทนจากการปล่อยกู้ต่ำแล้ว ทำไมจึงจะมีการปล่อยกู้มากขึ้น? ทั้งนี้ทาง Fisher กลับมองว่าเมื่อธนาคารกลางสหรัฐเข้าไปซื้อพันธบัตรมาเก็บเอาไว้เป็นจำนวนมากทำให้พันธบัตร (สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงน้อยสุด) ราคาสูงมาก (ดอกเบี้ยต่ำมาก) นักลงทุนที่มีเงินอยู่ในมือก็จะไม่กล้าซื้อพันธบัตรราคาแพงดังกล่าว เพราะกลัวว่าราคาพันธบัตรจะปรับลดลงในอนาคต (เพราะดอกเบี้ยจะต้องปรับขึ้นกลับไปสู่ระดับปกติ) คนที่คาดการณ์เช่นนั้นก็จะยอมถือเงินเอาไว้ (เก็บซุกใต้หมอน) ดีกว่านำเอาเงินไปลงทุนที่มีความเสี่ยง กล่าวคือมาตรการคิวอีของธนาคารกลางสหรัฐอาจกำลังนำไปสู่กับดักสภาพคล่อง (liquidity trap) ก็ได้ หมายความว่าธนาคารกลางสหรัฐพิมพ์เงินเข้าไปเท่าไหร่ประชาชนก็จะเก็บเงินกองเอาไว้เฉยๆในปริมาณที่เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ไม่ได้นำเอาไว้ใช้ทำประโยชน์แต่อย่างใด หากจะนำเอามาโยงกับประเทศไทยผมก็ขอกล่าวถึงบทความของดร.บัณฑิต นิจถาวรที่ลงในกรุงเทพธุรกิจเมื่อ 10 กันยายน ซึ่งแสดงความกังวลว่าปัจจุบันเศรษฐกิจไทย “ขณะนี้ขยายตัวจากการเร่งตัวของการใช้จ่ายที่มาจากการสร้างหนี้ (debt-driven spending-led economy)” ดังนั้นนโยบายการเงินจะต้องนำปัจจัยนี้มาพิจารณาในการกำหนดทิศทางดอกเบี้ย ทั้งนี้ ดร.บัณฑิตกล่าวต่อไปว่า “อัตราดอกเบี้ย ณ ระดับปัจจุบันไม่ได้เป็นข้อจำกัดต่อการใช้จ่ายในประเทศ” และสรุปว่า “ในทุกวิกฤติที่เกิดขึ้นในโลกต้นเหตุจะเหมือนกัน คือมาจากการก่อหนี้ที่เกินพอดี” ผมเห็นด้วยกับดร.บัณฑิตและมีประเด็นเพิ่มเติมว่ามาตรการกดดอกเบี้ยลงให้ต่ำ (ทั้งดอกเบี้ยระยะสั้นและระยะยาว) ของสหรัฐอเมริกาและยุโรปอย่างต่อเนื่องอีกอย่างน้อย 2-3 ปีข้างหน้านั้นย่อมจะเป็นสิ่งที่จะท้าทายประเทศไทยอย่างมาก เพราะเรากำลังเห็นต่างชาติเพิ่มการถือครองพันธบัตรรัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทยอย่างมาก (เงินทุนไหลเข้า) ในขณะเดียวกันธนาคารพาณิชย์ของไทยก็ได้เริ่มกู้ยืมเงินจากต่างประเทศแล้ว Tags : ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ http://www.bangkokbiznews.com/home/details/business/ceo-blogs/supavut/20120917/470177/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99-(QE)-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90.html
  8. เอามาให้อ่านกัน For These Four Nations, 2012 Is Worse Than the Great Recession The Great Recession of 2008/09 delivered the worst blow to the global economy since the 1930s. But in a few nations, 2012 is turning out to be worse than 2009 in terms of economic growth. Europe's debt crisis, the general slowing of the world economy, and domestic political troubles have played a role in undercutting 2012 growth for one or more of these four nations. Can you guess who they are? Sami Sarkis | Photographer's Choice | Getty Images It's no surprise that 2012 has turned out worse for Greece. It didn't escape the 2009 downturn, the economy contracted by half a percentage point. But unlike most of the rest of the world, which rebounded the following year, Greece has continued to shrink — 5.4 percent last year and an estimated 5.2 percent this year, according to projections from the Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). In many ways, Greece is the poster child for the debt crisis that has gripped the European Union and a solemn warning to other nations stuck with rising government debt. An unsustainable debt load has caused interest rates on Greece's sovereign debt to soar and forced it to seek a bailout and a debt restructuring. In return for the help, the European Union, the International Monetary Fund (IMF), and the European Central Bank have forced successive Greek governments to make huge and unpopular spending cuts, the latest one announced Aug. 1, 2012, for 11.5 billion euros ($14.1 billion). Even with the spending cuts and debt restructuring, Greece's public coffers are nearly exhausted, its industries are uncompetitive, and its economy continues on a downward spiral. “When the market takes a dim view of your prospects, that sends you down that spiral,” says Tu Packard, senior economist with Moody's Analytics. “It’s punishing, really.” The situation is so untenable that many analysts believe Greece will have to abandon the euro in the next year or two, create a new currency, and then immediately depreciate it to allow its workers to become competitive. But in the process, living standards of the Greek people would plunge. While not foundering as badly as Greece, Portugal is also a bailout country with high debts and a shrinking economy. In the depths of the Great Recession, it’s economy shrank 2 percent. This year it’s on track to decline 3 percent, according to the OECD. Still, Portugal is doing what other European nations wish Greece would do. It is taking the difficult steps to return to growth. It has cut its 2010 government deficit by half in 2011, cut government workers, and this year reduced public-sector pay by 14 percent, earning praise from the IMF for largely meeting its commitments to reform after receiving a bailout last year. Its success is by no means assured. Unemployment has soared to a record 15.2 percent and tax revenues have fallen, which will make it difficult for Portugal to make this year’s budget target. Its much larger trading neighbor, Spain, is struggling with its own sovereign debt problems that have clouded its economic future. But Portugal is likely to start growing again far sooner than Greece. India is at risk of becoming the first of the BRIC nations — the collection of fast-growing emerging markets that also includes Brazil, Russia, and China — to have its credit rating reduced to junk status. Just a year ago, India’s government expected double-digit growth in fiscal 2012, just as it experienced even during the worst of the Great Recession. Now, it’s forecasting only 6.8 percent growth — and even that may be too optimistic. High inflation, high interest rates, and a poor monsoon season, coupled with a political crisis that has brought the government to a standstill, have caused business, consumer, and investor confidence to plunge. There's the possibility that India is touching bottom (and it is still growing at a pace that would be the envy of any developed nation). Embattled Prime Minister Manmohan Singh has appointed a Harvard MBA as his new finance minister, cut government subsidies, and opened up supermarkets and the airline industry to foreign investment. "India does have a modest stimulus and depreciation," says Adrian Mowat, J.P. Morgan’s chief emerging market and Asian equity strategist. "That's probably sufficient for stabilization." He foresees better times ahead, at least for the stock market. On Sept. 14, the Bombay Stock Exchange's 30-share Sensitive Index hit a 14-month high. This is the biggest surprise of all. The Great Recession cut China’s real GDPgrowth by a third — down to 9.2 percent in 2009, according to the IMF — before it rebounded. But China this year is growing at an even slower pace: 7.5 to 8.0 percent, according to various estimates. Much of this decline is deliberate: Beijing tightened lending to try to tame inflation, which was pushing up food and housing prices; now, it’s trying to loosen some of its control to make sure growth doesn’t fall too far. In many ways, China is paying the price for having engineered its recovery from therecession with a huge stimulus. Housing prices have soared. All the loans have created the potential for bad debt. “You have this credit bubble still hanging over the economy, so that limits the government’s ability to stimulate the economy,” says Todd Lee, senior director of global economics at IHS/Global Insight, an economic research firm in Lexington, Mass. A growing number of analysts think China’s growth will decline even more as exports fall, especially those destined for recession-plagued Europe. “Things have become more precarious,” Mr. Lee says, but he’s holding to his forecast of 7.8 percent growth this year with a very mild recovery in 2013. Credit by : http://www.cnbc.com/id/49056918
  9. อย่าหลงระเริงนะครับ...เปิด L (ต่ำ ๆ) ปลอดภัยที่สุด
  10. รอลงมาแถว 25800 ใช่ไหมครับ
  11. รอก่อนนะ....ยังไม่ทะลุแนวต้าน 26,650-27,000 (18XX-19XX)
  12. เฟด ยังส่งสัญญาณด้วยว่ามาตรการผ่อนคลายทางการเงินนี้จะนำมาใช้จนกว่าพบเห็นทิศทางที่ดีขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างในตลาดแรงงานสหรัฐฯ ที่เวลานี้ตัวเลขคนว่างงานยังสูงถึงร้อยละ 8.1 ในถ้อยแถลง เฟดชี้ให้เห็นถึงการเติบโตที่อ่อนแอของเศรษฐกิจและความเฉื่อยชาในตลาดงาน ดังนั้นจึงจะอัดฉีดเงิน 40,000 ล้านดอลลาร์ ในตราสารหนี้ประเภทที่มีหลักทรัพย์จำนองค้ำประกันในแต่ละเดือน ในปฏิบัติการแบบเปิดที่มีเป้าหมายสนับสนุนภาคอสังหาริมทรัยพ์อันร่อแร่ ถ้อยแถลงของเฟดระบุว่ามาตรการเเหล่านี้จะช่วยลดความกดดันต่อดอกเบี้ยระยะยาว สนับสนุนตลาดสินเชื่อและช่วยสร้างสภาพแวดล้อมทางการเงินให้ผ่อนคลายมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วคณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน (Federal Open Market Committee : FOMC) ยังขยายมาตรการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับเฉียดร้อยละศูนย์ไปจนถึงช่วงกลางปี 2015 ยาวนานกว่าเคยประกาศก่อนหน้านี้กว่า 6 เดือน "ถ้าแนวโน้มตลาดแรงงานยังไม่ดีขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่าง คณะกรรมการกำหนดนโยบาย ก็จะดำเนินการเข้าซื้อตราสารหนี้ประเภทที่มีหลักทรัพย์จำนองค้ำประกันต่อไป รวมถึงอาจเข้าซื้อสินทรัพย์เพิ่มเติมและใช้เครื่องมือทางนโยบายอื่นๆตามสมควร จนกระทั่งจะบรรลุเป้าหมาย พบเห็นเสถียรภาพด้านราคาดีขึ้นอย่างชัดเจน" ส่วนนายเบน เบอร์นันกี ประธานเฟดบอกกับผู้สื่อข่าวว่าสถานการณ์การจ้างงานของประเทศยังคงน่ากังวลอย่างยิ่ง พร้อมระบุว่า "ตลาดงานที่อ่อนแอ ได้สร้างความวิตกแก่อเมริกันชนทุกคน" คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงินระบุว่าเศรษฐกิจของประเทศยังคงขยายตัวเล็กน้อย ทว่าอัตราการลงทุนในภาคธุรกิจเฉื่อยชาลงเรื่อยๆ พร้อมกันนั้นยังได้ปรับลดอัตราการเติบโตในปีนี้ลงเหลือร้อยละ 1.7-2.0 จากเดิมที่เคยประมาณการณ์ไว้ที่ 1.9-2.4 แม้จะคาดหมายว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวถึงร้อยละ 2.5-3.0 ในปี 2013 คำแถลงของคณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงินยังแสดงความกังวลด้วยว่าหากปราศจากนโยบายผ่อนคลายทางการเงินเพิ่มเติม เศรษฐกิจอาจไม่เติบโตเพียงพอที่จะช่วยให้สภาพของตลาดแรงงานดีขึ้นอย่างเป็นเนื้อเป็นหนัง และเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ก็ยังอ่อนแอเกินไปที่จะรับมือกับวิกฤตการเงินโลกที่กำลังดำเนินอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากวิกฤตหนี้ยูโรโซน อย่างไรก็ตามคณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน คาดหมายว่าอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐฯจะยังคงอยู่ในความควบคุม โดยอยู่ในระดับหรือต่ำกว่าเป้าหมายร้อยละ 2.0 ที่เฟดวางเอาไว้ ด้านผู้เชี่ยวชาญไม่รู้สึกประหลาดใจต่อความเคลื่อนไหวครั้งนี้ของเฟด โดยเฉพาะหากวิเคราห์ตามอัตราและรายละเอียดการเติบโตทางเศษฐกิจของสหรัฐฯ "เจ้าหน้าที่ของเฟดหลายคน อยากจะลงมือตอนนี้เพื่อซื้อความอุ่นใจต่อภาวะถดถอยเพิ่มเติม" ฮาร์ม บันด์โฮล์ซ จากยูนิเครดิตระบุ กระนั้นเขาบอกว่ามาตรการใหม่นี้อาจไม่ก่อผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากยังคงมีปัจจัยความเสี่ยงทางเศรษฐกิจจากภายนอกทั้งยุโรปและจีน รวมถึงการเจรจาเกี่ยวกับตัดลบงบประมาณที่ยังไร้ทางออกระหว่างเดโมแครตกับรีพับลิกัน เคดิต เมเนฯ
  13. QE#3...ไม่มีอะไรจริงหรือ..? Like ได้ข่าวในการทำร้ายทูตประเทศลิเบีย (เรื่องเดิม) ทองคำนิวไฮทั้งในประเทศ-ตลาดโลก 02/03/2011 อ่าน 15 ครั้ง ทองคำนิวไฮทั้งในประเทศ-ตลาดโลก วิกฤตลิเบียดันราคาทองพุ่งไม่หยุด ทำสถิติใหม่ ทั้งในประเทศ และตลาดโลก ล่าสุดรูปพรรณขายออกแตะ 21,000 บาท นายจิตติ ตั้งสิทธิ์ภักดี นายกสมาคมค้าทองคำ บอกว่า ราคาทองคำในวันนี้ ได้ทำสถิติใหม่ ทั้งราคาในประเทศ และราคาในตลาดโลก ซึ่งเป็นผลมาจากความกังวล ในสถานการณ์ในประเทศลิเบีย และราคาน้ำมันที่พุ่งสูงขึ้น โดยราคาทองคำในตลาดโลก ได้ทำสถิติสูงสุดครั้งใหม่ ปิดตลาดอยู่ที่ 1,431 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ปรับตัวเพิ่มขึ้น 21.30 ดอลลาร์ ส่วนราคาทองคำในประเทศ วันนี้ปรับเพิ่มขึ้น 150 บาท ส่งผลให้ราคาทองรูปพรรณวันนี้ขายออกสูงถึงบาทละ 21,000 บาท // รับซื้อบาทละ 20,208 บาท // ส่วนทองคำแท่งรับซื้อบาทละ 20,500 บาท //และขายออก บาทละ 20,600 บาท นายจิตติ บอกด้วยว่า แนวโน้มราคาทองคำในสัปดาห์นี้ มีโอกาสปรับตัวขึ้นได้อีก แต่อาจไม่มากนัก หลังจากพุ่งขึ้นมาต่อเนื่อง จนราคาสูงมากแล้ว โดยคาดการณ์ราคาทองคำทั้งปี ไม่น่าจะเกิน 1,500 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ส่วนแนวโน้มที่ราคาจะปรับลดลงนั้น อาจมีโอกาสบ้าง ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่จะเข้ามา โดยยอมรับว่าในช่วงนี้คาดการณ์ราคาค่อนข้างลำบาก
  14. กราฟคือตัวบ่งชี้....แต่ข่าวสำคัญที่สุด.. แมลงเม่าระวังอย่าระเริง เมื่อเห็นไฟ...
  15. wait... Technical Commentary ราคาทองสปอต ยังไม่สามารถทะลุผ่าน $1740-1745 ได้ สำเร็จในช่วงบ่ายวานนี้ ก่อนจะถูกขายทำกำไรออกมาจนราคา กลับมาทรงตัวใกล้ระดับ $1730 ซึ่งถือเป็นการพักตัวบริเวณเส้น ค่าเฉลี่ย 5วันและอาจมีความเป็นไปได้ที่จะย่อตัวถึงเส้นค่าเฉลี่ย 10วันบริเวณ $1720-1715 จากสัญญาณ bearish divergence รายชั่วโมง เราจึงแนะให้ถอยออกมาติดตามการพักตัวก่อน credit by : KTZMICO
×
×
  • สร้างใหม่...