ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

TOUNE

ขาใหญ่
  • จำนวนเนื้อหา

    606
  • เข้าร่วม

  • เข้ามาล่าสุด

ทุกๆอย่างที่โพสต์โดย TOUNE

  1. AIT บริษัท แอ็ดวานซ์ อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 57,786 60,075 245,836 209,198 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.9 1.0 3.92 3.48 DELTA บริษัทเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1,634,242 669,604 3,632,664 1,481,907 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1.31 0.54 2.91 1.19 TTW บริษัท น้ำประปาไทย จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 508,792 484,760 1,566,278 1,188,627 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.13 0.12 0.39 0.3 GFM บริษัท โกลด์ไฟน์ แมนูแฟคเจอเรอส์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 50,975 66,242 187,035 165,197 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.34 0.44 1.25 1.1 QLT บริษัท ควอลลีเทค จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 15,422 21,269 34,444 55,872 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.17 0.24 0.38 0.71 DRT บริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 115,943 93,766 368,814 300,582 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.12 0.1 0.38 0.31 DELTA กะ AIT เป็นหุ้นในปอดที่ออกงบถัดมา DELTA สำหรับผมมองว่าในกลุ่ม อิเล็กโทรนิค DELTA กะ SMT ดูจะโดดเด่นสุด DELTA เก๋ากว่า งบโดดเด่นกว่า SMT สดกว่าและเน้นผลิตสินค้าที่กำลังมาแรง อย่างหน้าจอระบบสัมผัส ของ smartphone ทั้ง 2 ตัวโดดเด่นเรื่องของ การผลิตสินค้า hi tech ซึ่งกำไรดีและมีคู่แข่งน้อย ของ DELTA เน้นผลิตระบบแปลงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งคู่ออกสินค้าใหม่ๆ อยู่เรื่อยๆ เพือให้นำตลาดตลอด มี R&D ที่มีประสิทธิภาพ รวมวิจัยกับบริษัทลูกค้า ทำให้ได้สิทธิในการผลิตตลอดช่วงอายุของสินค้า ผมถือทั้งคู่ครับ DELTA และ SMT AIT เป็นหุ้นประมูลครับ ที่จริงผมไม่ชอบหุ้นในกลุ่มประมูลเท่าไร นิสัยของหุ้นในกลุ่มนี้มักมีรายได้ไม่แน่นอน กำไรไม่มาก เพราะต้องประมูลแข่งกัน แต่ ดูเหมือนปัจจัยทั้ง 2 ที่กล่าวมาจะไม่มีผลกระทบต่อ AIT AIT เน้นแข่งขันด้านคุณภาพซึ่งกำไรดีกว่าไม่ได้แข่งขันเรื่องราคากับคู่แข่ง อีกทั้งในหลายปีที่ผ่านมา AIT ไม่เคยขาดทุน แม้ในช่วง subprime ที่ผ่านมา งานหลักๆ ของ AIT คือวางระบบให้ CAT และ TOT ประมาณ 50% ที่เหลือ 30% เป็นงานราชการ เช่นระบบ GIS เกี่ยวข้องกับแผนที่ cctv และ งานดูแลรักษาระบบประมาณ 20% แม้ว่ากำไรใน ไตรมาสนี้ของ AIT จะลดลง เท่าที่ดู AIT มีการตุน backlog ไว้มากถึง 3000 ลบ มากกว่าไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้วถึงเท่าตัว มากสุดเป็นประัวัติการณ์ เชื่อว่าในปีหน้า AIT จะสามารถโตได้จากปีนี้ 20% อย่างน้อยๆ
  2. BFIT บริษัทเงินทุน กรุงเทพธนาทร จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 22,208 31,277 63,335 6,620 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.11 0.16 0.32 0.03 MOONG บริษัท มุ่งพัฒนา อินเตอร์แนชชั่นแนล จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 16,147 7,185 48,330 34,649 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.13 0.08 0.4 0.38 NBC บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0 23,855 0 40,909 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.0 0.2 0.0 0.34 WAVE บริษัท เวฟ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1,445 3,909 3,207 (6,731) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.05 0.12 0.1 (0.19) AIT
  3. IFS บริษัท ไอเอฟเอส แคปปิตอล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 20,922 25,454 58,382 64,515 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.06 0.07 0.16 0.18 GLOBAL บริษัท สยามโกลบอลเฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 93,152 45,315 310,260 326,454 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.097 0.0542 0.3232 0.4378 Q-CON บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 24,324 3,718 28,658 16,665 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.061 0.009 0.072 0.042 HMPRO บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 387,536 253,489 1,099,102 741,431 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.09 0.06 0.25 0.17 TSTH บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 2 งวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (208,361) 238,224 (180,309) 70,333 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (0.02) 0.03 (0.02) 0.01 AGE บริษัท เอเชีย กรีน เอนเนอจี จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 32,459 (37,357) 91,309 1,883 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.23 (0.27) 0.65 0.01 SNC บริษัท เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 91,900 30,650 294,334 102,340 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.32 0.1 1.02 0.35 งบ SNC ออกแล้วครับ ผมรอ สรุปงบอยู่ กำไรโตขึ้น 220% ฝีมือ+กึ๋น ผู้บริหารล้วนๆ ไม่ใช่โชคเหมือน PTL ซึ่งกำไรดีเพราะราคาแผ่นฟิล๋มโลกขึ้นราคา นี่ละคือหุ้นเบอร์ 1 ของผม ไตรมาสนเป็น low season นะครับขอบอก
  4. LPN ADVANC มาแล้วจ้า ช่วงนี้ร่วงจัง LPN LPN บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 293,309 402,864 1,066,494 1,295,090 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.2 0.27 0.72 0.88 ADVANC บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 4,892,029 4,184,381 14,742,776 12,949,096 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1.65 1.41 4.97 4.37
  5. SCG บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 84,906 74,771 212,383 188,112 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.09 0.08 0.22 0.2 IFEC การพิจารณาปันผล เรื่อง : จ่ายปันผลเป็นเงินสด วันที่คณะกรรมการมีมติ : 03 พ.ย. 2553 ชนิดการปันผล : จ่ายปันผลเป็นเงินสด วันกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิปันผล : 16 พ.ย. 2553 (Record date) วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อรวบรวมรายชื่อผู้ถือหุ้น : 17 พ.ย. 2553 ตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ วันที่ไม่ได้รับสิทธิปันผล(XD) : 12 พ.ย. 2553 อัตราการจ่ายเงินปันผล อัตราการจ่ายเงินปันผลหุ้นสามัญ (บาท/หุ้น) : 0.03
  6. IFEC บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 20,518 0 58,872 0 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.05 0.0 0.15 0.0 KCE บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 165,129 123,562 507,181 9,120 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.35 0.27 1.1 0.02 THRE บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 141,786 140,143 394,558 376,128 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.119 0.118 0.332 0.317 CPI บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 8,928 3,733 54,503 95,091 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.03 0.01 0.19 0.34 TEAM บริษัท ทีมพรีซิชั่น จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 21,546 (11,896) 39,351 6,397 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.038 (0.021) 0.069 0.011 CCP บริษัท ผลิตภัณฑ์คอนกรีตชลบุรี จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 4,528 (28,499) (10,027) (92,719) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.015 (0.092) (0.032) (0.299) ขออภัยพอดีวันนี้ต้องออกไปข้างนอกแต่เช้า JAS กะ JTS ที่ลงค้างไว้ ได้ลงแล้วในข้อความก่อนหน้าครับ IFEC กะ KCE เป็นหุ้นในปอดที่ออกงบ IFEC เป็นหุ้นนอกสายตาตัวนึง ทำธุรกิจเกี่ยวเครื่องถ่ายเอกสารครับ ทั้งให้เช่าและขาย ส่วนของเช่าจะทำให้ธุรกิจต่อๆไปกำไรไม่ผันผวนนัก ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ดีเกี่ยว เครื่องถ่ายเอกสารที่สามารถนำมาทำเป็นเครื่องพิมพ์หนังสือขนาดเล็ก ซึ่งจะได้เปรียบโรงพิมพ์ซึ่งต้องพิมพ์จำนวนเล่มมากๆเพราะต้องทำ block ซึ่งถ้าพิมพ์ไม่ถึง 500 เล่มโรงพิมพ์จะไม่พิมพ์ให้ เครื่องพิมพ์ของ ifec แบบนี้จะพิมพ์หนังสือจำนวนน้อยๆได้ 100 เล่ม 10 เล่มก็พิมพ์ ไม่ทราบว่าใครเคยอ่านนิยายนักเขียน(บางคนก็ดัง)ที่เริ่มจากนักเขียน noname ตาม website ไหมครับสมัยนี้มีมากทีเดียวโดยเฉพาะในตปท ซึ่งแนวคิดนี้จะสนับให้นักเขียนใหม่ๆพวกนี้สามารถทดลองพิมพ์หนังสือของตัวเิองออกขายได้ แบบน้อยทดลองดูก่อน สำหรับ KCE ผมเห็นงบแล้ว (รอสรุปงบที่เป็นทางการอยู่) เท่าไตรมาศ 2 เลย ซึ่งผมมองว่าไม่ดีครับ ไตรมาศ 3 เป็นไตรมาศที่ดีของธุรกิจกลุ่มนี้ ทราบมาก่อนแล้วว่า KCE มีปัญหาเรื่อง ของเสียจากการผลิตเพิ่มมากขึ้น รวมถึงขาดแคลนวัสถุดิบในการผลิต รวมถึงปัญหาค่าเงิน
  7. KWH บริษัทวิค แอนด์ ฮุคลันด์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 8,215 (6,209) (39,374) (9,966) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.03 (0.02) (0.13) (0.03) JAS บริษัทจัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 348,725 175,681 715,302 530,997 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.048 0.029 0.107 0.085 JTS บริษัท จัสมิน เทเลคอม ซิสเต็มส์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 33,421 27,165 125,545 65,395 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.05 0.04 0.18 0.09
  8. HOT:กลุ่มน้ำมันพืชปรับขึ้น โบรกฯมองเก็งกำไรราคาผลิตภัณฑ์ปรับขึ้น,ดอลลาร์อ่อน กรุงเทพฯ--2 พ.ย.--รอยเตอร์ หุ้นกลุ่มน้ำมันพืช ปรับขึ้นแรงมากกว่าตลาดรวมในการซื้อขายช่วงเช้านี้ ขณะที่โบรกเกอร์มองนักลงทุนเก็งกำไรราคาผลิตภัณฑ์ที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงทิศทาง ค่าเงินดอลลาร์ที่อ่อนตัว ราคาหุ้นบมจ.น้ำมันพืชไทย(TVO) ซึ่งเป็นผู้ผลิตน้ำมันถั่วเหลือง ปรับขึ้น 2.61% มาที่ 29.50 บาท ขณะที่ผู้ผลิตน้ำมันปาล์ม อย่างบมจ.ล่ำสูง(ประเทศไทย(LST) บวกกว่า 15% มาที่ 4.28 บาท,หุ้นสหอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม(UPOIC) ปรับขึ้น กว่า 16% มาที่ 7.85 บาท ส่วนหุ้นชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม(CPI) บวกกว่า 7% มาที่ 4.38 บาท และหุ้นยูนิวานิชน้ำมันปาล์ม (UVAN) บวกกว่า 7% มาที่ 88.50 บาท ขณะที่ดัชนีหุ้นไทย บวกเล็กน้อย 0.21% "ส่วนหนึ่งเป็นภาพของการเก็งกำไรราคาสินค้าโภคภัณฑ์มากกว่าจากเรื่องภาวะ น้ำท่วม และดอลลาร์อ่อน ทำให้ราคาสินค้าเพิ่ม" นางสาวนารี อภิเศวตกานต์ ผู้ช่วย ผู้อำนวยการ ฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บล.ฟิลลิป(ประเทศไทย) กล่าว เขา คาดว่าราคาปาล์มน่าจะปรับตัวขึ้นตามถั่วเหลืองที่เพิ่มขึ้น ทำให้ นักลงทุนอาจเข้ามาเก็งกำไรจากประเด็นดังกล่าวด้วย ขณะที่สภาพอากาศที่แปรปรวน อาจจะทำให้นักลงทุนกังวลต่อผลผลิตที่ออกมา อาจจะต่ำกว่าคาดด้วย --จบ-- (โดย วิลาวัลย์ พงษ์พิทักษ์ เรียบเรียง--บร--) ((wilawan.pongpitak@thomsonreuters.com;โทร.0-2648-9730;
  9. BOT:ธปท.เตรียมหารือกรมศุลกากร กำหนดแนวทางคำนวณ FX ของผู้ขนส่งสินค้า กรุงเทพฯ--2 พ.ย.--รอยเตอร์ ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) เตรียมหารือกรมศุลกากร ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ตกลงชำระค่าระวางเรือ ในการคำนวณภาษี หวังช่วยผู้ประกอบการปิดความเสี่ยง อัตราแลกเปลี่ยน "ผู้ประกอบการอยากให้ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ตกลงชำระ เพื่อปิดความ เสี่ยง ซึ่งเราก็จะไปคุยกับศุลกากรให้" นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล ผู้ว่าการ ธปท. กล่าวกับผู้สื่อข่าว หลังหารือร่วมกับตัวแทนสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย เขา กล่าวว่า ในการผ่อนคลายเกณฑ์การชำระค่าระวางเรือ ธปท.ได้ผ่อนคลาย เกณฑ์ไปแล้วในช่วงที่ผ่านมา โดยให้ผู้ประกอบการชำระค่าระวางเรือ เป็นสกุลดอลลาร์ หรือเงินตราต่างประเทศได้ โดยไม่ต้องแลกเป็นเงินบาท อย่างไรก็ตาม อาจจะมีอุปสรรคเล็กน้อยในเรื่องการคำนวณอัตราเปลี่ยน เพื่อใช้ เป็นฐานในการคำนวณภาษี เพราะปัจจุบันกรมศุลกากรจะให้ระบุอัตราแลกเปลี่ยนวันใด วันหนึ่ง ในสัปดาห์ แต่การจ่ายค่าระวางเรือ บางครั้งจะเกิดขึ้นทุกวัน ผู้ประกอบการจึงต้องการ ให้ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ตกลงชำระค่าระวางเรือ เพื่อเป็นการปิดความเสี่ยง ซึ่งเรื่องนี้ ธปท.จะประสานงาน และหารือร่วมกับศุลกากร นอกจากนี้ ผู้ประกอบการยังต้องการให้ธนาคารพาณิชย์ ออกสินเชื่อระยะสั้น เพื่อการส่งออก (Packing Credit) เป็นสกุลดอลลาร์ได้ จากเดิมที่จะเป็นเงินบาท ซึ่ง ธปท.จะประสานงานไปยังธนาคารพาณิชย์ ว่ามีความต้องการที่จะดำเนินการในลักษณะดังกล่าว หรือไม่ หรือมีเรื่องใดที่เป็นอุปสรรค ซึ่งคาดว่าธนาคารพาณิชย์จะให้ความร่วมมือ --จบ-- (โดย บุญทิวา วิชกูล รายงาน; สะตะวสิน สถาพรชาญชัย รายงานและเรียบเรียง--บร--)
  10. คิดว่าฝรั่งซื้อซะอีก ลักษณะหุ้นที่ขึ้น sytle ฝรั่งเก็บเลย TFUND กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 210,327 96,777 497,294 333,313 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.2767 0.1273 0.6542 0.4385 TLOGIS กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 61,373 0 129,918 0 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.4003 0.0 0.8475 0.0 ZMICO บริษัทหลักทรัพย์ ซีมิโก้ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 31,093 8,976 18,996 2,891 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.038 0.011 0.023 0.004 SPSU บริษัท เอส.พี.ซูซูกิ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (15,503) (44,384) (27,043) (88,152) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (0.1) (0.28) (0.17) (0.56)
  11. การประชุม 2-3 พ.ย. …คาดเฟดคงดอกเบี้ย และแถลงรายละเอียด QEII บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย รายงาน เรื่อง การประชุม 2-3 พ.ย. …คาดเฟด คงดอกเบี้ย และแถลงรายละเอียด QEII โดยระบุว่า ในวันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2553 คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน (Federal Open Market Committee: FOMC) ของธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือ เฟด จะมีการประชุมรอบที่ 7 ของปีเพื่อตัดสินใจ นโยบายการเงิน ทั้งอัตราดอกเบี้ย Fed Funds ที่กำหนดไว้ที่กรอบร้อยละ 0.00-0.25 มาตั้งแต่กลางเดือนธันวาคม 2551 จนถึงปัจจุบัน รวมไปถึงมาตรการผ่อนคลายเชิง ปริมาณ (Quantitative Easing: QE) ผ่านเครื่องมือทางการเงินต่างๆ หลังจากที่เฟด ได้ระบุถึงการเตรียมการในการใช้มาตรการทางการเงินเพิ่มเติมหากจำเป็น เพื่อสนับ สนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ในการประชุมรอบก่อนหน้า เมื่อ วันที่ 21 กันยายน 2553 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีมุมมองต่อผลการประชุมของเฟดในรอบที่จะถึง นี้ ดังนี้ มติด้านนโยบาย ... คาดเฟดคงอัตราดอกเบี้ย พร้อมแถลงถึงความจำเป็นในการดำเนินมาตรการ QEII (แม้ด้วยเสียงที่อาจไม่เป็นเอกฉันท์) เครื่องชี้เศรษฐกิจในระยะหลังยังคงบ่งชี้ถึงการฟื้นตัวอย่างเชื่องช้าและขาด ทิศทางที่ชัดเจนของเศรษฐกิจสหรัฐฯ โดยแม้ว่าเครื่องชี้ส่วนใหญ่จะไม่ได้ปรับตัวไป ในทิศทางที่ไถลลงสู่ภาวะถดถอยหรือแสดงสัญญาณของการฟื้นตัวขึ้นได้ แต่การฟื้น ตัวดังกล่าว ก็ยังนับว่าห่างไกลและอาจต้องใช้เวลาอีกนานพอสมควรกว่าที่เครื่องชี้ เหล่านั้นหรือเศรษฐกิจสหรัฐฯจะกลับสู่ภาวะปกติ ยกตัวอย่างเช่น ตัวเลขจีดีพีไตร มาส 3/2553 (เบื้องต้น) ที่ขยายตัวร้อยละ 2.0 (Quarter-on-Quarter, Annualized) ดี ขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.7 ในไตรมาส 2/2553 แต่น้อยกว่าการขยายตัวร้อยละ 3.7 ในไตรมาสแรก รวมถึงยังคงต่ำกว่าอยู่มากเมื่อเทียบกับการขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ซึ่งถูกมองว่าเป็นอัตราการขยายตัวขั้นต่ำที่หากเกิดขึ้นติดต่อกันเป็นเวลาหลายไตร มาส จะสามารถดึงอัตราการว่างงานที่ปัจจุบันอยู่ในระดับสูงถึงเกือบร้อยละ 10 ให้ลด ต่ำลงได้ ขณะที่ ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค และเครื่องชี้ภาคอสังหาริมทรัพย์ อาทิ ยอดขายบ้าน ก็ล้วนยังคงอ่อนแออยู่มาก แม้จะปรับตัวดีขึ้นบ้างก็ตาม ความเชื่อมั่นผู้บริโภคสหรัฐฯ เดือน ต.ค. ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อน แต่ก็ยัง คงต่ำกว่ามากเมื่อเทียบกับระดับก่อนวิกฤตยอดขายบ้าน (ที่รวมทั้งบ้านใหม่และบ้าน มือสอง) เดือน ก.ย. ฟื้นตัวขึ้น แต่ก็ยังคงอ่อนแอ และยังเป็นหนึ่งในปัจจัยที่กดดันการ ใช้จ่ายของผู้บริโภค อัตราเงินเฟ้อในสหรัฐฯยังคงอยู่ที่ระดับต่ำ จนมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการ เกิดภาวะเงินฝืด โดยล่าสุด อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานที่วัดจากดัชนีราคาการใช้จ่ายผู้ บริโภคส่วนบุคคล (Core PCE – Personal Consumption Expenditure) ไตรมาส 3/2553 ขยับลงมาที่ร้อยละ 0.8 (QoQ, Annualized) เทียบกับร้อยละ 1.0 ในไตรมาส 2/2553 เช่นเดียวกับอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานที่วัดจากดัชนีราคาผู้บริโภค (Core CPI – Consumer Price Index) ที่ชะลอลงจากร้อยละ 1.0 (YoY) ในเดือนสิงหาคม มาที่ ร้อยละ 0.8 ในเดือนกันยายน อันสะท้อนถึงโมเมนตัมการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ชะลอ ลงในระดับหนึ่ง จากภาพการฟื้นตัวอย่างเชื่องช้าของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และอัตราเงินเฟ้อ ที่อยู่ในระดับต่ำดังกล่าว ทำให้ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า เฟดยังมีความจำเป็นที่ จะต้องคงอัตราดอกเบี้ย Fed Funds ไว้ที่ระดับต่ำต่อไป (ซึ่งล่าสุดตลาดมองว่า อัตรา ดอกเบี้ยนโยบายของเฟดอาจยืนที่กรอบร้อยละ 0.00-0.25 ไปจนเกือบตลอดปี 2554) พร้อมๆ กับมีความเป็นไปได้มากขึ้นที่เฟดอาจต้องดำเนินมาตรการ QEII ด้วย การเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯเพิ่มเติม เพื่อพยุงเศรษฐกิจให้ทยอยฟื้นตัวขึ้น รวม ทั้งกระตุ้นการคาดการณ์ภาวะเงินเฟ้อในอนาคต อย่างไรก็ดี ท่ามกลางการคาดการณ์ถึงวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาล ของเฟดที่มีค่อนข้างหลากหลายและครอบคลุมตั้งแต่น้อยกว่า 5 แสนล้านดอลลาร์ฯ ไปจนถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์ฯ หรือมากกว่านั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า เฟดน่าจะ เลือกดำเนินมาตรการ QEII อย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยอาจมีการระบุถึงวงเงินและ กรอบระยะเวลาการเข้าซื้อสินทรัพย์ในเบื้องต้น แต่เปิดกว้างสำหรับการดำเนินการ เพิ่มเติมในระยะถัดไปหากเห็นว่าจำเป็น ดังเช่นกรณีการดำเนินการ QEI ทั้งนี้เพื่อ สร้างความยืดหยุ่นและไม่ให้การดำเนินการดังกล่าวเกิดผลกระทบทางลบต่อตลาด การเงินในภาพรวม นอกจากนี้ ในการประชุมวันที่ 2-3 พฤศจิกายนนี้ มีความเป็นไปได้ เช่นกันที่เฟดอาจจะพิจารณาหรือหารือถึงแนวทางในการดำเนินการอื่นๆ เพิ่มเติมเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ อาทิ การปรับลดอัตราดอกเบี้ยที่เฟดให้สำหรับการฝากเงินสำรอง ส่วนเกินของสถาบันการเงิน และการกำหนดกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ เป็นต้น แต่การ ดำเนินการตามแนวทางอื่นๆ ดังกล่าว คงจะเกิดขึ้นด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง โดยคาดว่าไม่น่าจะเกิดขึ้นในระยะอันใกล้นี้ - หลังจากสิ้นสุดมาตรการ QEI การนำเงินที่ได้จากหลักทรัพย์ที่หนุนหลัง ด้วยสินเชื่อจำนองที่ครบกำหนดไถ่ถอนมาซื้อพันธบัตรรัฐบาล ส่งผลให้งบดุลของ เฟดยังมีขนาดค่อนข้างคงที่ ผลที่ตามมา ... ภาพความไม่สมดุลของเศรษฐกิจโลกจะยังไม่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ ในเวลาอันใกล้นี้ ดังนั้น การดำเนินนโยบายการเงินของทางการไทย ยังมีแนวโน้มต้องเผชิญกับโจทย์ ที่ท้าทาย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า เนื่องจากการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายและการ ดำเนินมาตรการ QEII ของเฟด เป็นสิ่งที่ตลาดเงินและตลาดทุนทั้งในและต่าง ประเทศได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าแล้วพอสมควร ฉะนั้น ปัจจัยสำคัญที่จะกำหนดทิศ ทางการปรับตัวของตลาดในระยะสั้น คงจะอยู่ที่แถลงการณ์หลังการประชุมซึ่งจะบ่งชี้ ถึงมุมมองของเฟดต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ตลอดจนขนาดและ กรอบระยะเวลาในการดำเนินมาตรการ QEII ว่าจะมีความแตกต่างมากน้อยเพียงใด ไปจากการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ ส่วนในระยะถัดไปนั้น พัฒนาการของเครื่องชี้ เศรษฐกิจ โดยเฉพาะในตลาดแรงงานและการใช้จ่ายของผู้บริโภค จะยังคงเป็นตัว แปรที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของเฟด มุมมองของนักลงทุน รวมถึงแนวโน้ม ความเคลื่อนไหวของตลาดเงินและตลาดทุนโลก ทั้งนี้ แม้เฟดจะดำเนินมาตรการ QEII เพิ่มเติมจากนโยบายการเงินที่เดิมก็ ผ่อนคลายอย่างมากอยู่แล้ว แต่ประสิทธิผลของนโยบายดังกล่าวที่จะสะท้อนผ่านการ ฟื้นตัวอย่างมีเสถียรภาพของเศรษฐกิจสหรัฐฯในเวลาอันรวดเร็ว คงต้องยอมรับว่าอาจ ไม่สามารถคาดหวังได้อย่างเต็มที่ เพราะปัญหาการว่างงานสูง คงไม่อาจแก้ไขให้ดี ขึ้นได้ภายในเวลาอันสั้น ในขณะเดียวกัน การเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลของเฟด ซึ่งเป็น การเพิ่มปริมาณเงินเข้าสู่ระบบ ก็อาจนำมาสู่โอกาสที่เศรษฐกิจโลกจะเกิดความเสี่ยง ด้านเงินเฟ้อมากขึ้นในระยะปานกลางถึงระยะยาว อันเป็นผลจากราคาสินค้า โภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นตามเงินดอลลาร์ฯที่มีแนวโน้มอ่อนค่า ลง โดยเฉพาะในกรณีที่เฟดประกาศการดำเนินมาตรการ QEII ด้วยขนาดที่มากกว่า คาด ส่วนกรณีที่ขนาด QEII ใกล้เคียงหรือน้อยกว่าที่คาด ตลาดก็อาจคาดการณ์ถึง ความจำเป็นที่เฟดจะต้องดำเนินการเพิ่มอีกในอนาคต หากตัวเลขเศรษฐกิจที่สำคัญ ไม่มีสัญญาณการฟื้นตัวที่ชัดเจน ซึ่งทั้งสองกรณี ในที่สุดแล้วอาจมีผลในการสร้าง แรงกดดันต่อเงินดอลลาร์ฯในระยะปานกลางถึงระยะยาว นั่นหมายความว่า ภาวะความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจของโลก จากความ เปราะบางของเศรษฐกิจหลักที่นำโดยสหรัฐฯ ยังมีแนวโน้มดำเนินไปอย่างต่อเนื่องใน ช่วงปีข้างหน้า (6-9 เดือนต่อจากนี้เป็นอย่างน้อย) ฉะนั้น นอกจากกระแสเงินลงทุน จากต่างประเทศที่ยังมีแนวโน้มเคลื่อนเข้าสู่ภูมิภาคเอเชียและส่งผลให้สกุลเงินใน เอเชียมีแนวโน้มปรับตัวแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ฯแล้ว ทางการของนานา ประเทศ ตลอดจนทางการไทย คงจะต้องเผชิญกับโจทย์ที่ท้าทายและมีความซับ ซ้อนมากขึ้นจากแนวโน้มการปรับขึ้นของแรงกดดันเงินเฟ้อ ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัย ภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ทั้งหมด ดังนั้น เพื่อรักษาสมดุลเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจและเงินเฟ้อในประเทศ ท่ามกลางกระแสเงินทุนไหลเข้าและเงินบาทที่มี แนวโน้มแข็งค่า การดำเนินการผ่านนโยบายอัตราดอกเบี้ยโดยลำพังอาจไม่เพียงพอ การพิจารณาแนวทางการใช้เครื่องมือทางการเงินอื่นๆ ประสานกับนโยบายการคลังที่ ลงตัว จึงเป็นความท้าทายที่รออยู่ของทางการไทยในระยะถัดไป เช่นเดียวกันกับ ภาคส่วนต่างๆ ที่คงหนีไม่พ้นที่จะต้องเตรียมแผนการรับมือทั้งในระยะสั้นและยาวท่าม กลางสภาวะที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอนเช่นนี้ โดยสรุป ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า คณะกรรมการกำหนดนโยบายการ เงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) คงจะมีมติให้ตรึงอัตราดอกเบี้ย Fed Funds ไว้ที่ ร้อยละ 0.00-0.25 ตามเดิมในการประชุมรอบที่ 7 ของปีในวันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2553 พร้อมทั้งแถลงถึงความจำเป็นในการดำเนินมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (Quantitative Easing: QEII) เพิ่มเติม (แม้จะด้วยเสียงที่อาจไม่เป็นเอกฉันท์) เพื่อ กระตุ้นการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและเงินเฟ้อในสหรัฐฯ อย่างไรก็ดี คาดว่าเฟดน่าจะ เลือกดำเนินมาตรการ QEII อย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยอาจมีการระบุถึงวงเงินและ กรอบระยะเวลาการเข้าซื้อสินทรัพย์ในเบื้องต้น แต่เปิดกว้างสำหรับการดำเนินการ เพิ่มเติมในระยะถัดไปหากเห็นว่าจำเป็น ดังเช่นกรณีการดำเนินการ QEI เพื่อสร้าง ความยืดหยุ่นและไม่ให้การดำเนินการดังกล่าวเกิดผลกระทบทางลบต่อตลาดการเงิน ในภาพรวม ทั้งนี้ เนื่องจากการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายและการดำเนินมาตรการ QEII ของเฟด เป็นสิ่งที่ตลาดเงินและตลาดทุนทั้งในและต่างประเทศได้คาดการณ์ไว้ล่วง หน้าแล้วพอสมควร ฉะนั้น ปัจจัยสำคัญที่จะกำหนดทิศทางการปรับตัวของตลาดใน ระยะสั้น คงจะอยู่ที่แถลงการณ์หลังการประชุมซึ่งจะบ่งชี้ถึงมุมมองของเฟดต่อแนว โน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ตลอดจนขนาดและกรอบระยะเวลาในการ ดำเนินมาตรการ QEII ว่าจะมีความแตกต่างมากน้อยเพียงใดไปจากการคาดการณ์ ของนักวิเคราะห์ ส่วนในระยะถัดไปนั้น พัฒนาการของเครื่องชี้เศรษฐกิจที่สำคัญของ สหรัฐฯ จะยังคงเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายของเฟด มุมมองของ นักลงทุน รวมถึงแนวโน้มความเคลื่อนไหวของตลาดการเงินโลก ซึ่งคงต้องยอมรับว่า แม้เฟดจะดำเนินมาตรการ QEII แต่ประสิทธิผล ที่จะสะท้อนผ่านการฟื้นตัวอย่างมีเสถียรภาพของเศรษฐกิจสหรัฐฯในเวลาอันรวดเร็ว คงจะคาดหวังได้ค่อนข้างจำกัด นั่นหมายความว่า สภาวะความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจ โลกที่นำโดยสหรัฐฯ จะยังมีแนวโน้มดำเนินต่อไปอย่างน้อยอีก 6-9 เดือนข้างหน้า ซึ่ง จะส่งผลให้กระแสเงินลงทุนจากต่างประเทศยังมีแนวโน้มเคลื่อนเข้าสู่ภูมิภาคเอเชีย และสร้างแรงกดดันต่อสกุลเงินในภูมิภาคเอเชียอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง ในขณะ เดียวกัน การเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลของเฟด ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณเงินเข้าสู่ระบบ ก็อาจนำมาสู่โอกาสที่เศรษฐกิจโลกจะเกิดความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อมากขึ้นในระยะ ปานกลางถึงระยะยาว อันเป็นผลจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่มีแนวโน้ม ปรับตัวสูงขึ้นตามเงินดอลลาร์ฯที่มีแนวโน้มอ่อนค่าลง ฉะนั้น นานาประเทศ รวมถึงทางการไทย คงจะต้องเผชิญกับโจทย์ที่ ท้าทายและสร้างความซับซ้อนให้กับการดำเนินนโยบายในระยะถัดไป เพื่อรักษา สมดุลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและเงินเฟ้อของประเทศผ่านการดำเนินนโยบายอัตรา ดอกเบี้ย และเครื่องมือทางการเงินอื่นๆ ควบคู่กับนโยบายการคลังที่เหมาะสม ใน ขณะที่ภาคเอกชนก็คงหนีไม่พ้นที่จะต้องเตรียมแผนการรับมือทั้งในระยะสั้นและยาว ท่ามกลางสภาวะที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจและความผันผวนของ ตลาดการเงินโลกในช่วงปีข้างหน้า ที่มา ศูนย์วิจัยกสิกรไทย วันที่ 01/11/10 เวลา 14:02:06
  12. บ่อยครั้งก็ได้ปรัชญาการดำเนินชิวิตจากการเล่นหุ้น มากเหมือนกันครับ หุ้นที่ดีคือหุ้นที่สามารถทำผลประกอบการได้ดี ไม่้สำคัญว่าตลาดจะให้ราคาหุ้นเช่นไร ขอเพียงทำผลประกอบการดีต่อเนื่อง+สม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย ผู้ถือหุ้นในที่สุดย่อมเห็นคุณค่าเอง เปรียบเหมือนคนครับ ถ้าจะทำดีไม่เห็นต้องสนใจขี้ปากใคร เชื่อว่าซักวันย่อยมีคนเห็นค่าความดีของเราเองครับ ปล แฮะๆคิดได้ แต่ทำไม่ได้ครับ เลยไม่ได้เป็นคนดีกะเค้าซะที ยากสุดไอ้ตรงเสมอต้นเสมอปลายนิละ
  13. IRPC บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 329,287 2,299,613 3,932,048 6,343,733 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.02 0.12 0.2 0.32 TUF บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 817,036 1,017,877 2,521,377 2,625,403 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.92 1.15 2.85 2.97 STANLY บริษัท ไทยสแตนเลย์การไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 2 งวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 365,332 209,127 732,372 301,573 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 4.77 2.73 9.56 3.94 BLS บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 116,166 76,673 286,441 143,242 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.65 0.43 1.59 0.8 STANLY เป็นหุ้นตัวที่ 3 ในปอดที่ออกงบครับ กำไรโตขึ้น 74.73% เทียบ YoY ทำธุรกิจผลิตไฟรถยนต์และมอเตอร์ไซด์ เช่นไฟหน้าไฟท้าย โดยร้อยละ 90% ของตลาดบน หลอดไฟรถยนต์/จยย เสร็จ STANLY หมดเป็นหุ้นที่ดีมากตัวนึง เป็นหุ้นในกลุ่มรถยนต์ของ SET ที่มียอดขายมากสูงสุด ปัญหาก็มีอยู่บ้าง ราคาหุ้นต่อหน่วยที่แพงไม่เป็นที่นิยมของนักเก็งกำไร ทำให้หุ้นเคลื่อนไหวค่อนข้างอุ้ยอายและสภาพคล่องน้อย
  14. ฟอร์บส์จัดอันดับ40เศรษฐีไทย http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1283405775&catid=05 ฮือ ฮา ฟอร์บส์ จัดบุคคลรวยที่สุดของไทย 40 อันดับ "ธนินท์ เจียรวนนท์ ผงาดแชมป์ รวยกว่า 217,000 ล้านบาท แซงหน้า"เฉลียว"เจ้าพ่อกระทิงแดง "ทักษิณ"ยังรั้งโผ ติดอันดับ 23 p { margin: 0px; } สำนัก ข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 2 ก.ย."ฟอร์บส์"นิตยสารด้านการเงินและการจัดอันดับชื่อดัง จัดอันดับบุคคลที่รวยที่สุดของไทย 40 อันดับ ประกอบด้วย 1. นายธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการและประธานคณะผู้บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) มูลค่ารวมทรัพย์สิน 7,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ กว่า 217,000 ล้านบาท 2. นายเฉลียว อยู่วิทยา เจ้าของเครื่องดื่มชูกำลัง กระทิงแดง หรือ เรดบูล มูลค่ารวมทรัพย์สิน 4,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ราว 130,000 ล้านบาท 3. นายเจริญ สิริวัฒนภักดี ผู้ก่อตั้งบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ เจ้าของธุรกิจวิสกี้และเบียร์ (เหล้าแม่โขง , เบียร์ช้างฯลฯ ) มูลค่ารวมทรัพย์สิน 4,150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 4. ครอบครัว "จิราธิวัฒน์" เจ้าของกิจการหลายอย่าง ตั้งแต่ธุรกิจค้าปลีก เครือข่าย เซ็นทรัล กรุ๊ป มูลค่ารวมทรัพย์สิน 2,900 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 5. นายกฤตย์ รัตนรักษ์ ประธาน และ ซีอีโอ ของ บริษัท บางกอก บรอดคาสติ้ง แอนด์ ทีวี (บีบีทีวี)ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์สีช่อง 7 โดยมีทรัพย์สินรวมถึงหุ้นในธนาคารกรุงศรีอยุธยา และปูนซิเมนต์นครหลวง มูลค่ารวมทรัพย์สิน 1,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 6. นายอาลก โลเฮีย ผู้บริหารบริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำกัด (มหาชน) และอาศัยอยู่ในประเทศไทยมานานกว่า 20 ปี มูลค่า รวมทรัพย์สิน 1,250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สำหรับบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน) หรือ IVL เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหุ้นไทย เป็นผู้ผลิตและส่งออกเม็ดพลาสติก PET และผลิตภัณฑ์จาก PET รายใหญ่ ธุรกิจของบริษัทอินโดรามาฯ จะประกอบไปด้วย 4 ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ 1) เม็ดพลาสติก PET โดยปัจจุบันมีโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET 7 แห่ง แบ่งเป็นในประเทศไทย 2 แห่ง ยุโรป 3 แห่ง และในอเมริกาเหนือ 2 แห่ง กำลังการผลิตรวมกันปีละ 1.48 ล้านตัน 2) เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ มีโรงงานผลิตในประเทศไทย 2 แห่ง กำลังการผลิตรวมปีละ 244,800 ตัน 3) ธุรกิจพลาสติก PTA มีโรงงานผลิต 2 แห่งที่ประเทศไทย และ1 แห่งในยุโรป กำลังการผลิตรวมปีละ 1.59 ล้านตัน และ 4) ธุรกิจด้ายจากขนสัตว์ มีโรงงาน 1 แห่งในประเทศไทย กำลังการผลิตปีละ 5,900 ตัน 7. นายจำนงค์ ภิรมย์ภักดี ประธานบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่ (เบียร์สิงห์ , ลีโอเบียร์) มูลค่ารวมทรัพย์สิน 1,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 8. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธ์ เจ้าของกิจการพฤกษาเรียลเอสเตท บริษัทอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ อันดับ 2 ของประเทศ มูลค่ารวมทรัพย์สิน 1,150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 9. นายวิชัย มาลีนนท์ เจ้าของกิจการ บีอีซีเวิลด์ และไทยทีวีสี ช่อง 3 มูลค่ารวมทรัพย์สิน 1,110 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 10. นายอิสระ ว่องกุศลกิจ กรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัทมิตรผล (น้ำตาลมิตรผล) มูลค่ารวมทรัพย์สิน 1,100 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ 11. คุณหญิงประณีตศิลป์ วัชรพล ภรรยา นายกำพล วัชรพล เจ้าของหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์หัวสีใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ร่วมมูลค่าทรัพย์สิน 1,050 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 12. นายวาณิช ไชยวรรณ และครอบครัว เจ้าของกิจการไทยประกันชีวิต 13. นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการ บมจ.ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTS) 14. นางสมพร จึงรุ่งเรืองกิจ ประธานเครือบริษัท ไทยซัมมิท ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ถือหุ้นส่วนหนึ่งอยู่ใน เนชั่น มัลติมีเดีย 15. นางสุรางค์ เปรมปรีดิ์ กรรมการผู้จัดการบีบีทีวี (ช่อง7) 16. นายประยุทธ มหากิจศิริ เจ้าของกิจการเหล็กกล้า ไทยน็อกซ์ สแตนเลส และเนสกาแฟ 17. นายอนันต์ อัศวโภคิน ผู้ก่อตั้งบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮาส์ 18. นายไกรสร ชาญสิริ ประธานและผู้ก่อตั้ง ไทย ยูเนียน ฟรอซเซน กิจการทูน่ากระป๋อง ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก 19. วิลเลียม อี. ไฮเนคกี้ และครอบครัว เจ้าของกิจการ ไมเนอร์ คอร์ป., ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล ทำธุรกิจ อาทิ เอสปรี และธุรกิจภัตตาคาร , สปา , โรงแรม มากกว่า 800 แห่งในหลายประเทศ 20. นายสรรเสริญ จุฬางกูร ผู้ก่อตั้งบริษัท ซัมมิทกรุ๊ป ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ เครือญาตินางสมพร จึงรุ่งเรืองกิจ 21. นายบุญชัย เบญจรงคกุล และครอบครัวผู้ก่อตั้ง บริษัทโทรคมนาคม ดีแทค 22. คุณหญิงประภา และนายวิทย์ วิริยะประไพกิจ ผู้บริหาร สหวิริยา สตีล อินดัสตรี้ 23. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ทรัพย์สิน 390 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 24.น.ส. นิชิต้า ชาห์ สาวโสด เจ้าของกิจการพรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ที่สืบทอดจากบิดา 25. นายวรวิทย์ วีรบวรพงศ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท สยามแก๊ส แอนด์ ปิโตรเคมีคัลส์ จำกัด(มหาชน) 26. นายจำรูญ ชินธรรมมิตร์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท น้ำตาลขอนแก่น จำกัด (มหาชน) 27. น.พ.ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ผู้ก่อตั้งสายการบิน บางกอก แอร์เวย์ส 28. นางนิจพร จารนะจิตต์ ผู้ถือหุ้นใหญ่ในอิตาเลียน-ไทย พี่สาวของ นายเปรมชัย กรรณสูต ประธานโรงแรมโอเรียนเต็ล และมีหุ้นส่วนตัวอยู่ในเครือโรงแรมอมารี 29. นายเปรมชัย กรรณสูต ผู้บริหารสูงสุดของ บริษัทรับเหมาก่อสร้าง อิตาเลียน-ไทย 30. นายนิธิ โอสถานุเคราะห์ ได้รับตกทอดหุ้น บริษัท โอสถสภามา 25% มีเงินลงทุนอยู่ใน ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล 31. นายรุ่งโรจน์ แสงศาสตรา ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค จำกัด (มหาชน) 32. นายเฉลิม อยู่วิทยา (ลูกชาย นายเฉียว อยู่วิทยา) เป็นผู้บริหาร บริษัท เครื่องดื่มกระทิงแดง จำกัด 33. นายประทีป ตั้งมติธรรม ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ศุภาลัย จำกัด (มหาชน) 34. นายวิโรจน์ ธนาลงกรณ์ เจ้าของธุรกิจเสื้อผ้า โดยเฉพาะ ชุดชั้นใน ซาบีน่า 35. นายวิชัย รักศรีอักษร ผู้ก่อตั้งบริษัท คิง เพาเวอร์ ดำเนินกิจการร้านค้าปลอดภาษี 36. นางพรดี ลี้อิสระนุกูล สืบทอดกิจการในเครือกลุ่มบริษัทสิทธิผล จาก นายวิทยา ผู้เป็นสามี มีหุ้นอยู่ในสิทธิผลมอเตอร์,ไทย สแตนเลย์ อีเลคทริค และบริษัทร่วมทุน อินูเอะ รับเบอร์ 37. นายวิชา พูลวรลักษณ์ เจ้าของกิจการ เมเจอร์ ซีนีเพลกซ์ เครือข่ายธุรกิจโรงภาพยนตร์ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ 38. นายปลิว ตรีวิศวเวทย์ เจ้าของกิจการบริษัทก่อสร้าง ช.การช่าง 39. นายเพชร โอสถานุเคราะห์ (นักร้อง และนักดนตรี เจ้าของผลงานเพลง "เพียงชายคนนี้..ไม่ใช่ผู้วิเศษ" ที่โด่งดังเมื่อปี พ.ศ. 2530) และนายรัตน์ โอสถานุเคราะห์ ซึ่งทั้งสองเข้ารับช่วงการบริหารบริษัทในเครือโอสถสภา และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ 40. น.พ.พงษ์ศักดิ์ วิทยากร ผู้ก่อตั้ง โรงพยาบาลกรุงเทพ ปล. 1. รายชื่อในตลาดหุ้น อาจไม่ใช่สินทรัพย์รวมทั้งหมด เพราะนับจากหุ้นที่ถือ อาจมีนอกตลาด 2. ความคลาดเคลื่อน มีคนรวยส่วนหนึ่ง ถือหุ้นตัวใหญ่ แต่ไม่ถึง 0.5% รายชื่อและมูลค่าก็จะไม่ปรากฎรวม ซึ่งหุ้นยิ่งมี market cap สูง 0.5% ก็จะสูงมาก แต่ไม่โชว์ให้มานับ CTW ถูกเผาดูเหมือนไม่กระทบขนหน้าแข็งเสี่ยเลยครับ !57 น่าสนใจดี save เก็บไว้ดู ในกระทู้ แปลกใจที่ไม่เห็น ล่ำซำ
  15. โอ้ว ทั้ง SAT IHL DELTA SNC CPL PTL KSL เหล่าลูกๆขึ้นกันได้ ประทับใจ
  16. เอาจริงเหรอครับ ถ้าถามผม ส่วนตั๊วส่วนตัว จริงๆ หุ้นที่ดีที่สุดของผมคือ SNC SNC มีพัตนาการที่ดีมาก บริษัทผลิตแอร์ทั้ง บ้านและรถยนต์ outsource ให้บริษัทแอร์ดังๆที่เรารู้จักกัน ลูกค้าสำคัญ(แอร์บ้าน) ได้แก่ LG (100%) ฟูจิสึ (100%) Sharp ไดกิ้น ซึ่งเชื่อว่าอีกหน่อย panasonic หรือ mitsu ก็ไม่วายเป็นลูกค้า SNC เพราะ SNC ผลิตได้ถูกและคุณภาพดี แอร์รถยนต์ทุกชนิดที่ผลิตในประเทศ ทั้งส่งออก และ ใช้ภายในประเทศ ผลิตโดย SNC คุณสมชัย ผู้บริหาร พูดว่า(ผมจำได้คร่าวๆ) แอร์ SNC มาตราฐานญี่ปุ่น ราคาจีน จนเดียว LG เลิกผลิตเองโดยสมบูรณ์แล้วให้ SNC ผลิตประหยัดกว่า SNC จะเป็นธุรกิจ monopoly ในอนาคต อีกอย่าง SNC มีการรุกเข้าสู่ธุรกิจ ต้นน้ำเพื่อให้สามารถผลิตได้ครบวงจรมากขึ้น แต่เดิมเค้าทำ แค่ท่อทองแดง ปัจจุบันสามารถทำส่วน โลหะ metal sheet และ ขึ้นรูปโครงพลาสติกได้ด้วย ลูกค้าไม่ต้องสังสินค้าได้เป็นส่วนๆแล้วค่อยนำมาประกอบเองอีกทีื SNC สามารถประกอบให้เสร็จทั้งหมด เพราะผลิตได้เองแทบทุกส่วน 3 มีการบริหารวัตถุดิบที่ชาญฉลาด เช่นทองแดง ราคาของ SNC จะขึ้นลงตามราคาจริงของวัตถุดิบ ซึ่งถ้าลูกค้าต้องการเก็งกำไรกับตรงนี้ต้องรับผิดชอบเอง เช่นให้ lock ราคาทองแดงของวันนี้ให้ ก็จะทำให้ แต่ถ้าพรุ่งนี้ขึ้นคุณก็กำไร แต่ถ้าลง คุณก็รับผิดชอบไปเอง กำไรของ SNC จะขึ้นอยู่กับจำนวนเครื่องที่ผลิต ไม่ต้องกังวลกับราคาวัสถุดิบและค่าเงิน ที่จริงมีมากกว่านี้ครับ ผมเอาแค่ที่หลักๆ
  17. มาแล้ว PTL ความรู้สึกช้าไปนิด +4 บาท 13.68%
  18. KEST บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 292,340 240,848 563,506 520,300 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.51 0.42 0.99 0.92 SCSMG บริษัท ไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 110,556 74,936 243,194 115,733 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1.22 0.82 2.68 1.27 RATCH บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1,252,712 1,656,742 4,234,910 5,556,601 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.86 1.14 2.92 3.83 กิมเอง ไม่แน่ใจว่าเคยลงรึยัง ถ้าซ้ำก็ขออภัย ลงในครั้งหลังมักเป็น งบหลังปรับปรุงซึ่งจะถูกต้องกว่า
  19. PTL ขึ้นได้ห่วยจริงๆ แต่ CPL ลิ่ง แทนก็ไม่เป็นไร
  20. TGCI บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 81,504 48,905 260,130 (38,104) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.08 0.05 0.26 (0.04) BCP บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 506,892 2,151,487 1,723,917 6,446,265 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.43 1.84 1.47 5.68 PTL บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 2 งวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 762,185 200,420 1,174,618 431,498 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.95 0.25 1.47 0.54 PTL การพิจารณาปันผล เรื่อง : จ่ายปันผลเป็นเงินสด วันที่คณะกรรมการมีมติ : 28 ต.ค. 2553 ชนิดการปันผล : จ่ายปันผลเป็นเงินสด วันกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิปันผล : 15 พ.ย. 2553 (Record date) วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อรวบรวมรายชื่อผู้ถือหุ้นตามมา : 16 พ.ย. 2553 ตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ วันที่ไม่ได้รับสิทธิปันผล(XD) : 11 พ.ย. 2553 อัตราการจ่ายเงินปันผล อัตราการจ่ายเงินปันผลหุ้นสามัญ (บาท/หุ้น) : 0.59 มาแล้วครับ PTL หุ้นในปอดตัวที่ 2 ทำกำไรขั้นเทพ เกือบ 4 เท่า YoY และ 2 เท่า QoQ พรุ่งนี้สนุกแน่ งบ ไตรมาศ ถัดไป จะเด็ดกว่านี้อีก เรียกว่าเป็นหุ้นที่อยู่ถูกที่ถูกเวลา เนื่องจากราคา ฟิล์มโลก ดีขึ้นอย่างมาก (คนละ ฟิล์ม กะ รัฐภูมินะ อิอิ) ไตรมาศนี้ยังดีขึ้นต่ออีก เจ้าพวก โบรกมองข้ามกันดีนัก พรุ่งนี้คงได้ออก บทวิเคราะห์กันเป็นว่าเล่นละ หวังว่าหุ้นที่เหลือจะเอาอย่าง พี่ PTL บ้างนะ เอาแค่ 2 เท่าพอ อิอิ
  21. SSI บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 17,714 1,312,717 2,391,049 121,488 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.0 0.1 0.18 0.01 SSI เป็นหุ้นเหล็กที่มีคนเล่นมากที่สุดตัวนึง กำไร ศูนย์ บาทต่อหุ้น ทั้งๆที่รายได้จากการขายมากขึ้น แต่ต้นทุนขายสูงขึ้นยิ่งกว่า ทำให้กำไรลดลง QoQ เหตุผลว่าทำไมยังไม่ทราบแน่ชัด แต่คิดว่าเป็นเพราะ ต้นทุนเหล็กราคาถูกที่เก็บไว้ในช่วงวิกฤตหมดแล้ว ต้นทุนใหม่แพง กำไรหด เป็นหุ้นที่มีงบ ออกมาน่าตกใจมาก (ในแง่ลบ) ตัวนึง
  22. PSL บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 173,903 703,109 720,282 2,630,415 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.16 0.68 0.69 2.53 SCC บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 6,557,650 6,988,376 20,709,187 19,013,407 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 5.46 5.82 17.26 15.84 SCC ยังออกมาไม่ดีนัก ที่จริงพอเห็นได้จาก TPC ซึ่งเป็นบริษัทลูก งบออกมาแล้วก่อนหน้า ผลจากมาบตาพุดยังไม่จบอีกรึไง? PSL มีการลากทำราคาก่อนหน้า ขึ้นจาก 18 บาทรึไง ผลออกมาแบบนี้ งานนี้จะหมู่หรือจ่า ติดตามกันต่อไป
  23. เทียบไตรมาศ 2 53 น่าจะ drop ลง ผลตามฤดูกาล เทียบไตรมาศ 3 ปีที่แล้วน่าจะดีขึ้นครับ
  24. PTTEP บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 10,532,098 5,258,904 31,619,436 17,501,586 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 3.18 1.59 9.54 5.29 DCC บริษัท ไดนาสตี้เซรามิค จำกัด (มหาชน) ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 30 กันยายน ปี 2553 2552 2553 2552 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 250,478 239,615 928,299 763,858 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 0.61 0.59 2.28 1.87 PTTEP ทำได้ดีทีเดียว DCC หุ้นในปอดตัวแรกที่ออก จริงๆ ก็พอทราบอยู่ว่าหุ้นในกลุ่มก่อสร้างจะ drop ลงใน Q3 แต่ก็หวังว่าจะมากกว่านี้นิดหน่อย DCC ลดลง QoQ ครับ ถึงแม้ว่า YoY จะดีขึ้นเล็กน้อยก็ตาม DCC การพิจารณาปันผล เรื่อง : จ่ายปันผลเป็นเงินสด วันที่คณะกรรมการมีมติ : 26 ต.ค. 2553 ชนิดการปันผล : จ่ายปันผลเป็นเงินสด วันกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิปันผล : 11 พ.ย. 2553 (Record date) วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อรวบรวมรายชื่อผู้ถือหุ้นตามมา : 12 พ.ย. 2553 ตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ วันที่ไม่ได้รับสิทธิปันผล(XD) : 09 พ.ย. 2553 อัตราการจ่ายเงินปันผล อัตราการจ่ายเงินปันผลหุ้นสามัญ (บาท/หุ้น) : 0.70 - : 0.00 จ่ายจากกำไรสุทธิส่วนที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุ น (NON-BOI)(บาท/หุ้น) - จ่ายจากกำไรสุทธิส่วนที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน : 0.00 (BOI)(บาท/หุ้น) มูลค่าที่ตราไว้ (Par)(บาท) : 1.00 วันที่จ่ายปันผล : 22 พ.ย. 2553 งวดดำเนินงาน : วันที่ 01 ก.ค. 2553 ถึงวันที่ 30 ก.ย. 2553
×
×
  • สร้างใหม่...