ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'ตรวจมวลกระดูก'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 2 รายการ

  1. เมื่ออายุมากขึ้น ความหนาแน่นของมวลกระดูกจะลดน้อยลง กระดูกจะเปราะบางมากขึ้น ทำให้ความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนสูงขึ้น ซึ่งผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนมีความเสี่ยงที่กระดูกจะหักได้ง่ายแม้ว่าจะได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย โรคกระดูกพรุนนับว่าเป็นภัยเงียบ เพราะผู้ป่วยมักไม่แสดงอาการหรือสังเกตเห็นสิ่งผิดปกติใด ๆ ได้จนกว่ากระดูกจะหัก ซึ่งมักจะเกิดขึ้นที่บริเวณกระดูกข้อมือ กระดูกสะโพก และกระดูกสันหลัง ดังนั้นผู้ที่มีความเสี่ยงจึงควรได้รับการตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูก หรือตรวจมวลกระดูกอยู่เสมอค่ะ ตรวจมวลกระดูก อายุเท่าไรถึงจะต้องเริ่มต้นตรวจ · ผู้หญิงในวัยหมดประจำเดือนและผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป · ผู้ชายที่อายุ 70 ปีขึ้นไป · ผู้ที่น้ำหนักน้อยกว่า 58 กิโลกรัม · ผู้ที่มีประวัติกระดูกหักในช่วงวัยผู้ใหญ่ · ผู้ที่ใช้ยาสเตียรอยด์เป็นเวลานาน · ผู้ป่วยโรครูมาตอยด์ · ผู้ที่สมาชิกในครอบครัวสายตรงมีประวัติกระดูกสะโพกหักจากการได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย การตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูกจะแบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้ 1.การตรวจด้วยเครื่อง DXA (Dual-energy X-ray Absorptiometry) · เป็นวิธีที่นิยมที่สุดในการวัดความหนาแน่นมวลกระดูก · ใช้รังสีเอกซ์พลังงานต่ำสองระดับเพื่อวัดความหนาแน่นของกระดูก · มักจะวัดที่ส่วนสะโพกและกระดูกสันหลัง · ให้ผลที่แม่นยำ และเป็นมาตรฐานทองคำในการวินิจฉัยโรคกระดูกพรุน 2.การตรวจด้วย QCT (Quantitative Computed Tomography) · เป็นการใช้ CT Scan เพื่อวัดความหนาแน่นของกระดูก · ให้ภาพสามมิติของกระดูก · มีความแม่นยำสูงและสามารถแยกชั้นของกระดูกได้ดี · ใช้รังสีเอกซ์ในปริมาณที่สูงกว่าการตรวจด้วย DXA 3.การตรวจด้วย QUS (Quantitative Ultrasound) · ใช้คลื่นอัลตราซาวนด์ในการวัดคุณภาพของกระดูก · มักใช้สำหรับการคัดกรองเบื้องต้น โดยเฉพาะในสถานที่ไม่มีเครื่อง DXA หรือ QCT · ไม่ใช้รังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้หญิงตั้งครรภ์ และกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการความระมัดระวังเรื่องการรับรังสี การตรวจมวลกระดูกเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญในการป้องกันและตรวจจับโรคกระดูกพรุน ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาและแนวทางการดูแลที่เหมาะสมตั้งแต่เนิ่นๆ โดยเฉพาะกับตรวจมวลกระดูก อายุที่ถึงเวลาตรวจ อย่างเป็นประจำสามารถช่วยลดความเสี่ยงของการหักกระดูกง่ายได้ ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นค่ะ สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับตรวจมวลกระดูกได้ที่ : https://www.nonthavej.co.th/How-to-take-care-osteoporosis.php
  2. กระดูกจัดว่าเป็นอะไรที่สำคัญมาก ๆ ต่อร่างกายของเรา เพราะเป็นโครงสร้างหลักที่สนับสนุนร่างกาย ทำให้เราสามารถยืน, นั่ง, และเคลื่อนไหวได้ และยังทำหน้าที่ปกป้องอวัยวะภายในร่างกายของเราได้ด้วย อย่าง กระโหลกปกป้องสมอง, กระดูกหลังปกป้องไขสันหลัง, และกระดูกริบปกป้องหัวใจและปอด เป็นต้น นอกจากนี้กระดูกยังเป็นที่เก็บแร่ธาตุที่สำคัญต่างๆ เอาไว้มากมาย เช่น แคลเซียม,ฟอสฟอรัส และสามารถปล่อยเข้าสู่กระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายได้เมื่อจำเป็น และกระดูกยังทำหน้าที่ช่วยส่งเสริมในการเจริญเติบโตให้กับร่างกายอีกด้วย ดังนั้นเราจึงควรที่จะต้องดูแลสุขภาพของกระดูกให้ดี ๆ โดยเฉพาะเมื่อมีอายุ 60 ปีขึ้นไปควรไปตรวจมวลกระดูก ว่ามีปัญหาในด้านใด หรือไม่ เพื่อที่จะได้ทำการรักษาและดูแลได้อย่างทันท่วงที และถูกจุดค่ะ การตรวจความหนาแน่นของมวลกระดูก เพื่อใช้วินิจฉัยถึงความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุน ซึ่งค่าความหนาแน่นมวลกระดูก ที่วัดได้จะต้องนำไปเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยปกติในกลุ่มคนเฉลี่ยที่ อายุ 30 – 40 ปี ที่มีเชื้อชาติเดียวกัน หรือเชื้อชาติที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งมันจะเป็นเป็นจำนวนของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ที่เรียกว่า T- score (T) ซึ่งใช้เป็นค่าในการวินิจฉัยโรค ดังนี้ · ค่า T score มากกว่า -1 = ความหนาแน่นกระดูกปกติ (Normal bone) · ค่า T score ที่อยู่ต่ำกว่า -1 แต่สูงกว่า -2.5 = กระดูกบาง (Osteopenia) · ค่า T score ต่ำกว่า -2.5 = โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) ช่วงวัยที่ควรเข้ารับการตรวจมวลกระดูก โดยช่วงอายุของผู้หญิงที่ควรเข้ารับการตรวจมวลกระดูก อายุควรเริ่มตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป และผู้ชายควรเริ่มตรวจตั้งแต่อายุ 70 ปีขึ้นไป โดยการตรวจจะใช้เครื่องตรวจที่เรียกว่า Bone densitometer เป็นเครื่องมือการตรวจทางรังสีชนิดหนึ่งซึ่ง เครื่อง Bone densitometer มีหลายแบบ แต่ที่นิยมใช้คือแบบที่เรียกว่า Dual Energy X-ray Absorptiometry scanner หรือ DEXA scanner โดยตำแหน่งที่จะตรวจ คือ บริเวณกระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก เนื่องจากบริเวณเหล่านี้มักพบว่ามีการแตกหักของกระดูกจากภาวะกระดูกพรุนได้บ่อยค่ะ วิธีป้องกันโรคกระดูกพรุน 1. ควรสะสมมวลกระดูกให้มากที่สุดตั้งแต่วัยเด็ก แนะนำให้รับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่และรับประทานอาหารที่ให้แคลเซียมมาก เช่น ผลิตภัณฑ์จากนม, กุ้งแห้ง, ปลาตัวเล็กๆ, งาดำ, ผักใบเขียว เช่น ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า ผักบร็อคโคลี่ (เป็นกลุ่มผักที่มีแคลเซียมสูง) 2. ควรออกกำลังกายเป็นประจำ และสม่ำเสมอ 3. งดการสูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การตรวจมวลกระดูก หรือการวัดความหนาแน่นของกระดูก ช่วยให้สามารถรู้ได้ว่า กระดูกของเรามีปัญหาหรือไม่ มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนรึเปล่า เพื่อที่จะได้ทำการดูแล และรักษาให้ไวที่สุด ก่อนที่จะส่งผลกระทบต่อร่างกายจนเกิดความเสียหายในด้านอื่น ๆ ตามมาค่ะ สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : https://www.nonthavej.co.th/How-to-take-care-osteoporosis.php
×
×
  • สร้างใหม่...