ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'ตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 3 รายการ

  1. การตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ ทำให้ทราบว่าสุขภาพของคุณพ่อคุณแม่มีความพร้อมแค่ไหน ก่อนที่จะมีลูก เพราะหากพบปัญหาบางอย่างที่จะส่งผลเสียต่อตัวเด็กจะได้สามารถรับมือได้ทันท่วงที ช่วยให้การมีเจ้าตัวเล็กเป็นไปอย่างราบรื่น ปลอดภัย ซึ่งขั้นตอนสำคัญที่ช่วยเตรียมพร้อมสำหรับการมีบุตรในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่วางแผนจะตั้งครรภ์ ขั้นตอนในการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ มีอะไรบ้าง? 1. ในเบื้องต้นแพทย์จะทำการซักประวัติทั้งว่าที่คุณพ่อและคุณแม่ ดังนี้ · ประวัติการคุมกำเนิด เคยคุมกำเนิดแบบไหน ยังคุมอยู่หรือไม่ ประจำเดือนมาปกติหรือไม่ · ประวัติการเจ็บป่วย การผ่าตัด หรือการรักษาทางการแพทย์อื่นๆ · ประวัติการตั้งครรภ์ก่อนหน้านี้ เช่น เคยตั้งครรภ์มาก่อนไหม มีประวัติการแท้งหรือไม่ · ประวัติครอบครัว เพื่อให้ทราบไปถึงโรคทางพันธุกรรมที่อาจเกิดขึ้น เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ธาลัสซีเมีย · ประวัติการฉีดวัคซีน เช่น วัคซีนหัดเยอรมัน ไวรัสตับอักเสบ อีสุกอีใส · ประวัติการใช้ยา การใช้ยารักษาโรคประจำตัว รวมไปถึงการแพ้ยา · ประวัติส่วนตัว เช่น การทำฟัน ดื่มเหล้าหรือสูบบุหรี่หรือไม่ การออกกำลังกาย การนอน สภาพแวดล้อมในบ้าน การเลี้ยงสัตว์ 2. ตรวจร่างกายทั่วไป เพื่อดูความสมบูรณ์ของร่างกาย เช่น วัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจระบบหายใจ ตรวจระบบหัวใจ ตรวจเต้านม ตรวจหน้าท้อง เอกซ์เรย์ ตรวจมะเร็งปากมดลูก หากตรวจว่าพบความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จำเป็นต้องได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด ทั้งแพทย์เฉพาะทางและสูตินรีแพทย์ ซึ่งจะต้องพิจารณาร่วมกันว่าสมควรให้มีการตั้งครรภ์ได้หรือไม่ · ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ และเอกซเรย์ปอด ในขั้นตอนนี้โดยรวมแล้วจะเป็นการตรวจเพื่อดูความเข้มข้นของเลือด โรคเลือด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมถึงโรคติดต่อทางพันธุกรรม และหาภูมิคุ้มกันโรคบางอย่าง เช่น ความเข้มข้นของเม็ดเลือด ตรวจหาภูมิหัดเยอรมัน ระดับน้ำตาลในเลือด โรคทางพันธุกรรมแฝง รวมไปถึงการตรวจเชื้อ HIV (เอดส์) หากพบว่าทั้งพ่อและแม่ต่างก็มีโรคทางพันธุกรรมแฝงอยู่ในตัว จะมีโอกาสถ่ายทอดไปยังลูกได้ 1 ใน 4 คน เลยทีเดียว · การตรวจภายในสำหรับคุณแม่ เพื่อตรวจว่ามดลูกและรังไข่ปกติดีหรือไม่ ตรวจอุ้งเชิงกรานและช่องคลอด เพราะมีผลโดยตรงต่อการตั้งครรภ์และการคลอด เช่น อาจมีการอักเสบ มีเนื้องอกของมดลูกหรือรังไข่ มีพังผืดหรือมีถุงน้ำในรังไข่ เป็นต้น แถมการตรวจภายในยังถือว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้ตรวจมะเร็งปากมดลูกไปด้วย · ตรวจพิเศษก่อนตั้งครรภ์ กรณีนี้จะตรวจเพิ่มเติมก็ต่อเมื่อแพทย์ตรวจร่างกายตามปกติแล้วพบความผิดปกติ ก็อาจต้องตรวจพิเศษเพิ่มเติมด้วย เช่น ตรวจอัลตราซาวนด์ในช่องท้อง หรือส่องกล้องตรวจในอุ้งเชิงกราน เป็นต้น นอกจากการเข้ารับการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์แล้ว ก็ควรที่จะต้องดูแลตนเองให้ดีในด้านอื่น ๆ ด้วย อย่างด้านอาหารการกินที่ต้องกินอาหารให้ได้ครบตามที่ร่างกายต้องการ หรือต้องได้รับ หากทานอาหารได้ไม่ครบตามความต้องการของร่างกายก็ควรหาวิตามิน หรือสารอาหารที่ขาดไปมาทานเสริม งดสูบบุหรี่, งดดื่มแอลกอฮอล์, หมั่นออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ ซึ่งในปัจจุบันมีโรงพยาบาลที่รับตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์เยอะมาก ๆ แต่หนึ่งในโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียง และได้รับความนิยมไปตรวจกัน คือการไปตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ ที่ รพ.นนทเวช เพราะมีความน่าเชื่อถือ และมีชื่อเสียงเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมานานทำให้เป็นที่ไว้วางใจของประชาชน ในการมาตรวจร่างกายกันที่โรงพยาบาลนี้กันค่ะ
  2. ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการตรวจสุขภาพสำหรับผู้หญิงก่อนตั้งครรภ์นั้นเป็นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะสุขภาพของพ่อแม่สามารถส่งถึงลูกน้อยได้โดยตรง หากคุณพ่อคุณแม่แข็งแรง มีสุขภาพดี ลูกน้อยก็มักจะแข็งแรงดี แต่ก็มีคุณพ่อคุณแม่หลายคู่ที่ฝ่ายหญิงตั้งครรภ์โดยที่ไม่รู้ว่าตนเองหรือสามีมีโรคแฝงหรือเป็นพาหะโรคทางพันธุกรรม ทำให้ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงนี้ เด็กที่เกิดมาจึงมีร่างกายไม่สมบูรณ์ พิการ หรือมีโรคทางพันธุกรรมบางอย่างเกิดขึ้นได้ ดังนั้นการวางแผนก่อนตั้งครรภ์ หรือการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยลดความเสี่ยงเหล่านี้ได้ ตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จำเป็นต้องตรวจอะไรบ้าง 1.แพทย์จะทำการซักประวัติตัวคุณพ่อ คุณแม่ เบื้องต้นดังนี้ · ประวัติการคุมกำเนิด เคยคุมกำเนิดแบบไหน ยังคุมอยู่หรือไม่ ประจำเดือนมาปกติหรือไม่ · ประวัติการเจ็บป่วย การผ่าตัด หรือการรักษาทางการแพทย์อื่นๆ · ประวัติการตั้งครรภ์ก่อนหน้านี้ เช่น เคยตั้งครรภ์มาก่อนไหม มีประวัติการแท้งหรือไม่ · ประวัติครอบครัว เพื่อให้ทราบไปถึงโรคทางพันธุกรรมที่อาจเกิดขึ้น เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ธาลัสซีเมีย · ประวัติการฉีดวัคซีน เช่น วัคซีนหัดเยอรมัน ไวรัสตับอักเสบ อีสุกอีใส · ประวัติการใช้ยา การใช้ยารักษาโรคประจำตัว รวมไปถึงการแพ้ยา · ประวัติส่วนตัว เช่น การทำฟัน ดื่มเหล้าหรือสูบบุหรี่หรือไม่ การออกกำลังกาย การนอน สภาพแวดล้อมในบ้าน การเลี้ยงสัตว์ 2. ทำการตรวจร่างกายทั่วไป เพื่อดูความสมบูรณ์ของร่างกาย เช่น วัดส่วนสูง, ชั่งน้ำหนัก, วัดความดันโลหิต, ตรวจระบบหายใจ, ตรวจระบบหัวใจ, ตรวจเต้านม, ตรวจหน้าท้อง, เอกซ์เรย์, ตรวจมะเร็งปากมดลูก หากตรวจว่าพบความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จำเป็นต้องได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด ทั้งแพทย์เฉพาะทางและสูตินรีแพทย์ ซึ่งจะต้องพิจารณาร่วมกันว่าสมควรให้มีการตั้งครรภ์ได้หรือไม่ · ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ และเอกซเรย์ปอด ในขั้นตอนนี้โดยรวมแล้วจะเป็นการตรวจเพื่อดูความเข้มข้นของเลือด โรคเลือด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมถึงโรคติดต่อทางพันธุกรรม และหาภูมิคุ้มกันโรคบางอย่าง เช่น ความเข้มข้นของเม็ดเลือด ตรวจหาภูมิหัดเยอรมัน ระดับน้ำตาลในเลือด โรคทางพันธุกรรมแฝง รวมไปถึงการตรวจเชื้อ HIV (เอดส์) หากพบว่าทั้งพ่อและแม่ต่างก็มีโรคทางพันธุกรรมแฝงอยู่ในตัว จะมีโอกาสถ่ายทอดไปยังลูกได้ 1 ใน 4 คน เลยทีเดียว · การตรวจภายในสำหรับคุณแม่ เพื่อตรวจว่ามดลูกและรังไข่ปกติดีหรือไม่ ตรวจอุ้งเชิงกรานและช่องคลอด เพราะมีผลโดยตรงต่อการตั้งครรภ์และการคลอด เช่น อาจมีการอักเสบ มีเนื้องอกของมดลูกหรือรังไข่ มีพังผืดหรือมีถุงน้ำในรังไข่ เป็นต้น แถมการตรวจภายในยังถือว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้ตรวจมะเร็งปากมดลูกไปด้วย · ตรวจพิเศษก่อนตั้งครรภ์ กรณีนี้จะตรวจเพิ่มเติมก็ต่อเมื่อแพทย์ตรวจร่างกายตามปกติแล้วพบความผิดปกติ ก็อาจต้องตรวจพิเศษเพิ่มเติมด้วย เช่น ตรวจอัลตราซาวนด์ในช่องท้อง หรือส่องกล้องตรวจในอุ้งเชิงกราน เป็นต้น นอกจากการตรวจสุขภาพก่อนตั้งท้องแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญที่ไม่ควรจะละเลยคือ ต้องออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ, กินอาหารที่มีประโยชน์, งดดื่มแอลกอฮอล์, งดสูบบุหรี่ เพราะจะช่วยให้คุณแม่มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงในการตั้งครรภ์อย่างเต็มที่ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจที่จะส่งผลดีต่อเจ้าตัวน้อยที่สุดค่ะ
  3. การตั้งครรภ์เป็นหนึ่งในช่วงเวลาที่สำคัญ และน่าตื่นเต้นที่สุดในชีวิตของผู้หญิงหลาย ๆ คน ดังนั้นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจจึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่ควรต้องทำก่อนที่จะตัดสินใจมีบุตร การตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงมีบทบาทสำคัญมาก เพื่อเพิ่มโอกาสในการมีบุตรที่แข็งแรงและลดโอกาสในการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ค่ะ โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนมีบุตรการตรวจแบบนี้เหมาะกับใครบ้าง · ผู้ที่อายุไม่ถึง 35 ปี ยังไม่เกิดการตั้งครรภ์หลังจากมีเพศสัมพันธ์มาแล้ว 12 เดือน โดยไม่ได้คุมกำเนิด · ผู้ที่อายุ 35 ปีขึ้นไป ยังไม่เกิดการตั้งครรภ์หลังจากมีเพศสัมพันธ์มาแล้ว 6 เดือน โดยไม่ได้คุมกำเนิด ขั้นตอนการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ 1. การปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการเจริญพันธุ์ การปรึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับการวางแผนการตั้งครรภ์และการปรับแต่งวิถีชีวิตเพื่อเตรียมความพร้อมในการมีบุตร 2. การตรวจร่างกาย และดูประวัติสุขภาพของคนไข้ การดูประวัติสุขภาพของคนไข้ที่ผ่านมารวมถึงประวัติสุขภาพของครอบครัวคนไข้ ถือว่ามีความสำคัญต่อการนำไปพิจารณาอย่างมาก เช่น ประวัติของโรคทางพันธุกรรม เป็นต้น 3. การทดสอบและการตรวจวินิจฉัย อาจรวมถึงการตรวจเลือดเพื่อตรวจหาโรคที่สามารถส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ เช่น โรคธาลัสซีเมีย และการตรวจหาภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆ เช่น หัด คางทูม และอีสุกอีใส 4. การอัปเดตวัคซีน การได้รับวัคซีนที่จำเป็นก่อนการตั้งครรภ์เป็นสิ่งสำคัญ เพื่อป้องกันไม่ให้ตัวแม่และทารกในครรภ์ติดเชื้อ 5. การปรับปรุงสุขภาพทั่วไปและการดูแลสุขภาพจิต รวมถึงการแนะนำการกินอาหารที่สมดุล การออกกำลังกายอย่างเหมาะสม และการหลีกเลี่ยงสารอันตราย เช่น แอลกอฮอล์ และยาสูบ 6. การจัดการกับปัจจัยเสี่ยงที่มีอยู่ ถ้ามีปัจจัยเสี่ยง เช่น โรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง ควรได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมก่อนการตั้งครรภ์ 7. การให้คำแนะนำเรื่องการเสริมสารอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิกซึ่งมีความสำคัญในการป้องกันภาวะขาดสารอาหารและปัญหาทางพันธุกรรมในทารก การตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์เป็นขั้นตอนสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม ถือเป็นการลงทุนในการเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ ควรปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการเจริญพันธุ์เพื่อวางแผนและเตรียมความพร้อมอย่างดีที่สุดสำหรับการตั้งครรภ์ในอนาคตด้วยก็จะดีมาก ๆ ค่ะ สนใจสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ได้ที่ : https://www.nonthavej.co.th/health-check-up-wedding.php
×
×
  • สร้างใหม่...