ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

ค้นหาในชุมชน

แสดงผลลัพธ์สำหรับแท็ก 'ร้านเวชภัณฑ์'

  • ค้นหาโดยแท็ก

    พิมพ์แท็กแยกด้วยเครื่องหมายลูกน้ำ
  • ค้นหาโดยผู้เขียน

ประเภทเนื้อหา


ฟอรั่ม

  • มุมมือใหม่ หัดใช้เวปบอร์ด
    • แนะนำการใช้งานเวปบอร์ด
  • สภากาแฟ
    • สภากาแฟ
    • บทวิเคราะห์ราคาทองคำ
    • วิเคราะห์หุ้น-การเงิน-การลงทุน
    • เตือนภัยสังคม
    • เปิดประเด็น
  • เนื้อหาสาระเกี่ยวกับทองคำ การลงทุน
    • บทความเกี่ยวกับทองคำ
    • บทเรียนเกี่ยวกับทองคำ
    • ข่าวราคาทองคำ การลงทุน
    • การใช้งาน Software
  • นอกเรื่องนอกราว
    • เก็บมาฝาก
    • IT เทคโนโลยี
    • มุมสุขภาพ
    • ชวนกันทำบุญ
    • โฆษณา-ประชาสัมพันธ์

หมวด

  • Articles
    • Forum Integration
    • Frontpage
  • Pages
  • Miscellaneous
    • Databases
    • Templates
    • Media
  • รวมบทความ

บล็อก

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

ไม่มีผลลัพธ์จะแสดง

หมวด

  • แฟ้มสาระ
    • MT4 Stuffs
    • Seminar ThaiGOLD 4
  • แฟ้มทั่วไป
    • เพลงน่าฟัง
    • อื่นๆอีกมากมาย

ค้นหาผลลัพธ์ใน...

ค้นหาผลลัพธ์ซึ่ง ...


วันที่สร้าง

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


อัปเดตล่าสุด

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กรองโดยสมาชิกของ

เข้าร่วม

  • เริ่ม

    สิ้นสุด


กลุ่ม


AIM


MSN


Website URL


ICQ


Yahoo


Jabber


Skype


ความชื่นชอบ

พบผลลัพธ์จำนวน 2 รายการ

  1. คลังยามีนบุรี เป็นร้านเวชภัณฑ์ แถวรามคำแหงที่จำหน่ายอุปกรณ์การแพทย์ต่าง ๆ มากมาย อย่าง วัสดุทางการแพทย์ ที่เอาไว้ใช้สำหรับในโรงพยาบาล และตามคลินิก ซึ่งสินค้าที่ขายเป็นสินค้าทางการแพทย์หลายหมวดหมู่ ไม่ว่าจะเป็น อุปกรณ์การแพทย์สำหรับบ้าน เช่น เครื่องวัดออกซิเจน เครื่องวัดความดัน เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ,อุปกรณ์การแพทย์สำหรับคลินิก เช่น เครื่องมือห้องผ่าตัด เครื่องกระตุ้นหัวใจ และอุปกรณ์การแพทย์สำหรับโรงพยาบาล ประกอบไปด้วยอุปกรณ์การแพทย์และเครื่องมือแพทย์ที่ใช้ทุกจุดประสงค์ ค่ะ รวมสิ่งสำคัญที่ควรรู้ของร้านเวชภัณฑ์เกี่ยวกับการบริการและการจัดการร้านที่ดี 1. มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และตัวยาเป็นอย่างดี อัพเดทหรือหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวยาใหม่ ๆ อยู่เสมอ และศึกษาผลข้างเคียง 2. การบริหารจัดการสต็อกและคลังสินค้า: วิธีการจัดการสต็อกให้เหมาะสม เช่น การควบคุมสต็อก, การหมุนเวียนสินค้า และควรใช้เทคโนโลยีในการติดตามและจัดการสต็อก 3. ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง: ข้อกำหนดและกฎหมายในการดำเนินธุรกิจเวชภัณฑ์ ความสำคัญของการปฏิบัติตามมาตรฐานสุขภาพและความปลอดภัย 4. การให้บริการและคำปรึกษาแก่ลูกค้า: ให้คำปรึกษาที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับลูกค้า รวมถึงต้องสื่อสารกับลูกค้าที่มีความต้องการพิเศษ 5. การตลาดและการส่งเสริมการขาย: กลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมสำหรับร้านเวชภัณฑ์ การใช้สื่อออนไลน์และโซเชียลมีเดียในการส่งเสริมการขาย 6. เทคโนโลยีและนวัตกรรม: การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการร้าน นวัตกรรมใหม่ๆ ที่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 7. การจัดการความเสี่ยงและการจัดการวิกฤต :การเตรียมพร้อมสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉินหรือวิกฤต การจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในธุรกิจเวชภัณฑ์ 8. การพัฒนาทักษะและการฝึกอบรมของพนักงาน: ความสำคัญของการมีพนักงานที่มีความรู้และทักษะ การจัดการฝึกอบรมและการพัฒนาทีมงาน 9. การให้บริการและการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า: วิธีการสร้างความประทับใจและการให้บริการที่ดีรู้จักเอาคำติชม มาปรับปรุงแก้ไข จะช่วยให้ลูกค้าเกิดความประทับใจกับร้านมากยิ่งขึ้น และอยากที่จะมาใช้บริการในครั้งต่อไป ร้านเวชภัณฑ์ถือว่ามีบทบาทที่สำคัญมากในการดูแลสุขภาพ ดังนั้นการบริหารจัดการที่ดี จะช่วยให้ได้รับประโยชน์ด้วยกันทุก ๆ ฝ่าย และการที่นำเทคโนโลยีมาปรับใช้ล้วนเป็นตัวช่วยสำคัญที่จะทำให้ร้านเวชภัณฑ์ประสบความสำเร็จ และเป็นที่ไว้วางใจของลูกค้าได้ รวมถึงการทำความเข้าใจและพัฒนาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ต้องนำมาปรับปรุงแก้ไข ล้วนช่วยส่งเสริมให้ร้านเวชภัณฑ์สามารถให้บริการได้ดียิ่งขึ้นและตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพดีที่สุดค่ะ สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : https://www.klungyaminburi.com/ร้านขายอุปกรณ์การแพทย์-เวชภัณฑ์/
  2. ร้านขายยา หรือร้านเวชภัณฑ์ เป็นหนึ่งในธุรกิจที่เราคุ้นเคยกันมาเป็นอย่างดี เวลาเจ็บป่วย หรือเป็นไข้ เล็กๆ น้อยๆ ที่สามารถหาซื้อยามาทานได้ โดยที่ไม่ต้องไปโรงพยาบาล แต่หากทานยาแล้วไม่หายจึงค่อยไปคลินิก หรือไปหาหมอที่โรงพยาบาลแทน ซึ่งการไปหาหมอที่โรงพยาบาล หรือที่คลินิกนั้น หากไม่ใช่โรงบาลเอกชลก็จะต้องรอคิวค่อนข้างนาน ดังนั้นการมีร้านเวชภัณฑ์อยู่ตามชุมชนจึงเป็นสิ่งที่ดี และตอบโจทย์กับผู้อยู่อาศัยแถวๆ นั้น เพราะช่วยประหยัดทั้งเวลา และเงิน ให้กับผู้ป่วยได้เยอะ ปัจจุบันร้านเวชภัณฑ์ในชุมชนล้วนได้รับการตอบรับที่ดีมาก จึงทำให้หลาย ๆ คนหันมาสนใจธุรกิจประเภทนี้กันมากขึ้น ดังนั้นเราจึงได้จัดทำข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาในการลงทุนเปิดร้านขายยาเบื้องต้นเอามาฝาก เพื่อเป็นแนวทางให้กับคนที่สนใจจะทำธุรกิจนี้กันว่าแล้วก็ตามมาดูกันเลยค่ะ 1. ร้านขายยาเปิดโดยเภสัชกร การเปิดร้านขายยาโดยที่ผู้ประกอบการเป็นเภสัชกร จะมีข้อได้เปรียบอย่างมากทั้งในเรื่องความรู้เรื่องยาและความพร้อมในการดูแลร้าน เพราะไม่ต้องไปจ้างเภสัชกร เพื่อมาประจำร้าน ในทางกฎหมายการเปิดร้านขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ ต้องมีเภสัชกรปฏิบัติหน้าที่ในร้าน จะเปิดร้านขายยาไม่มีเภสัชไม่ได้ ดังนั้นเมื่อมีความพร้อมในด้านบุคลากรแล้วก็เตรียมพร้อมในส่วนของเงินทุนและทำเลได้เลย 2. เปิดร้านขายยาบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้จบเภสัช สำหรับผู้ที่ต้องการประกอบร้านขายยาเป็นบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้จบทางด้านเภสัชกรมาโดยตรง ก็สามารถที่จะทำธุรกิจร้านขายยานี้ได้เช่นกัน แต่ต้องทำให้ถูกต้องระเบียบ และกฎหมาย คือจะต้องมีเภสัชกรประจำร้าน มีงบประมาณและทำเลที่ตั้งที่เหมาะสม เพียงเท่านี้ก็สามารถเริ่มต้นธุรกิจร้านขายยาโดยที่คุณไม่จำเป็นต้องเรียนจบหมอ จบเภสัชฯ ได้ค่ะ ขั้นตอนการขออนุญาตเปิดร้านเวชภัณฑ์ • จดทะเบียนพาณิชย์ให้เรียบร้อย สำหรับกรุงเทพฯ สามารถติดต่อได้ที่ สำนักงานเศรษฐกิจการคลังหรือสำนักงานเขตทุกพื้นที่ สำหรับต่างจังหวัดสามารถติดต่อได้ที่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลใกล้บ้าน • จัดเตรียมเอกสารให้พร้อมและนำไปยื่นที่สำนักงานสาธารณสุขประจำจังหวัด เมื่อจัดทำการจดทะเบียนร้านขายเวชภัณฑ์เสร็จแล้วก็ต้องเตรียมตัวทำสิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้เพื่อที่จะเปิดร้านขายยา 1. อันดับแรกเลย คือต้องเตรียมเงินทุนให้พร้อม งบประมาณในการลุงทุนเปิดร้านขายยาและค่าใช้จ่ายอื่นๆประมาณ 2 – 3 แสนบาท ขึ้นอยู่กับขนาดของร้าน ทำเลที่ตั้ง แต่จำนวนยาและอาหารเสริมที่วางขายมากน้อยเพียงใด 2. หาทำเลที่ตั้งเหมาะสม ดูตำแหน่งที่จะเปิดร้านขายยาที่มีคนผ่านไปมาจำนวนมาก ย่านชุมชน มีผู้คนพลุกพล่าน ศึกษาร้านคู่แข่งในระยะใกล้เคียง 3. ในกรณีที่คุณไม่ได้เป็นเภสัชกรเองจำเป็นจะต้องจ้างเภสัชกรเพื่อให้ถูกต้องตามกฎหมายในการดำเนินธุรกิจร้านขายยาจะต้องมีเภสัชกรประจำร้าน 4. หาข้อมูลเกี่ยวกับตัวแทนจำหน่ายยาหรือดีลเลอร์ที่ไว้ใจได้ ก่อนตัดสินใจซื้อยาจากตัวแทนจำหน่ายให้ติดต่อจากหลายๆ รายเพื่อเปรียบเทียบข้อเสนอขอแต่ละราย อย่าหลงเชื่อคำโน้มน้าวหรือการเชียร์ขายจนเกินไป เพราะอาจได้สินค้าไม่ตรงตามความต้องการ เนื่องจากร้านขายยา เป็นธุรกิจที่มีกฎหมายควบคุม ดังนั้น หากใครต้องการเปิดร้านเวชภัณฑ์ หรือร้านขายยาต้องขอใบอนุญาตขายยาก่อน และผู้ขอใบอนุญาตจะต้องมีเภสัชกรที่มีใบประกอบโรคศิลปะเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการด้วย ส่วนการดำเนินกิจการสามารถทำในนามบุคคลธรรมดาได้ หรือจะ จดบริษัทร้านขายยา เป็นนิติบุคคลก็ได้เช่นกัน ซึ่งทั้ง 2 รูปแบบมีเงื่อนไขและข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของ กิจการว่าแบบไหนเหมาะกับตัวของผู้ขายมากที่สุดค่ะ สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับร้านเวชภัณฑ์ได้ที่ : https://www.klungyaminburi.com/ร้านขายอุปกรณ์การแพทย์-เวชภัณฑ์/
×
×
  • สร้างใหม่...