ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 
tt2518

ขอเดา(ราคาทอง)กับเขาบ้าง

โพสต์แนะนำ

กสิกรเผยมีบช.ผิดปกติ117รายจากแฮกATM

ข่าวเศรษฐกิจ วันศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2556 16:04น.

 

รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย เผย มีธุรกรรมผิดปกติ 117 ราย จากโจรแฮกเกอร์ดูดเงิน หาทางป้องกันต่อไป

นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์ รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย เดินทางเข้าพบ พนักงานสอบสวน สน.ลุมพินี เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับ คนร้ายที่โจรกรรมบัตรเอทีเอ็มของผู้เสียหาย พร้อมกับกล่าวว่า ในส่วนของธนาคารกสิกร ตรวจพบว่า มีการทำธุกรรมที่ผิดปกติ จำนวน 117 ราย จึงทำการอายัดบัตรไว้ได้ ประมาณ 70 ราย แต่อีกกว่า 40 ราย ไม่สามารถที่จะทำการอายัดได้ทัน ทำให้สูญเงินรวม 2.8 แสนบาท ซึ่งทางธนาคารได้ชดใช้เงินคืนให้กับผู้เสียหายไปแล้ว เมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา

 

นอกจากนี้ ในส่วนของทางธนาคารกสิกร มีระบบปิดกั้นการติดตั้งเครื่องสกิมเมอร์ แต่ช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา คนร้ายจะปรับใช้วิธีการใหม่ ในการแอบติดตั้งเครื่องดังกล่าว ทำให้ ทุกครั้งที่ เจ้าหน้าที่ทำการเติมเงินในตู้ ATM ก็จะต้องตรวจสอบว่า แต่ละตู้นั้นมีการติดตั้งเครื่องสกิมเมอร์ หรือไม่

 

อย่างไรก็ตาม จากนี้ไป กสิกรไทย จะพูดคุยกับผู้ผลิตตู้ ATM ว่า จะสามารถผลิตเครื่องรุ่นใหม่ที่สามารถป้องกันการแอบติดตั้งเครื่องสกิมเมอร์ จากคนร้ายได้หรือไม่

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Nonfarm Payrolls

Actual:204K

Forecast:125K

Previous:163K

Importance:Currency:USDSource Of Report:Bureau of Labor Statistics (Release URL)

OverviewChartHistory

Nonfarm Payrolls measures the change in the number of people employed during the previous month, excluding the farming industry. Job creation is the foremost indicator of consumer spending, which accounts for the majority of economic activity.

 

A higher than expected reading should be taken as positive/bullish for the USD, while a lower than expected reading should be taken as negative/bearish for the USD.

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

สปอตทิ้งดิ่ง บาทอ่อนแรง

 

ถือว่า ยังลง แบบมีแรงเบรค นะครับ

 

ขอบคุณ ป๋า นะครับ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

อาจจะพลิกฟื้นมาได้

 

Michigan Consumer Sentiment

Actual:72.0

Forecast:74.5

Previous:73.2

Importance:Currency:USDSource Of Report:University of Michigan (Release URL)

OverviewChartHistory

The University of Michigan Consumer Sentiment Index rates the relative level of current and future economic conditions. There are two versions of this data released two weeks apart, preliminary and revised. The preliminary data tends to have a greater impact. The reading is compiled from a survey of around 500 consumers.

 

A higher than expected reading should be taken as positive/bullish for the USD, while a lower than expected reading should be taken as negative/bearish for the USD.

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

สถานการณ์ ณ. จุดนี้ เห็นยังไง Supports: 1303 (main), 1293 - 1287 (strong) จะรับอยู่ในกรอบขนาดไหน

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

อรุณสวัสดิ์ป๋า เมื่อคืนลงแบบมีดิสเบรค ค่อยยังชั่ว หวังว่าคงไม่ลงกว่านี้... :uu

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

The players who manipulate the Silver and Gold futures market

 

Source :Commodity Online

 

The giant banks are given carte blanche by the mainstream because they are so "successfu", and “surely the man in the fancy suit is someone you can trust”. They are also too big to fail and/or prosecute.

 

By Dr Jeffrey Lewis

The manipulation of gold prices, along with practically every other asset class, has perfectly transparent legal precedent. The precious metals political hot potato taboo has been strong enough to make it almost impossible for the mainstream to understand. And while it is perfectly plausible and even celebrated by the practitioners, the greatest threats to economic stability (LIBOR, bonds and interest rates, equities, electricity) are openly discussed facts. Obviously, history has demonstrated that these great unnatural “tinkerings” always end badly.

 

To summarize, the key points of a recent interview with GATA’s Chris Powell's demonstrated how silver analyst Ted Bulter and GATA dovetail - and how it ends.

 

The Exchange Stabilization Fund

The ESF is basically the funding arm of the Treasury - as spelled out on their website. By definition it means (and is confirmed by open admission) that they intervene across a broad range of asset classes.

 

The legal basis of the ESF is the Gold Reserve Act of 1934. As amended in the late 1970s, the Act provides in part that "the Department of the Treasury has a stabilization fund consistent with the obligations of the Government in the International Monetary Fund (IMF) on orderly exchange arrangements and an orderly system of exchange rates. The Secretary, with the approval of the President, may deal in gold, foreign exchange, and other instruments of credit and securities.”

They use swaps and huge concentrated positions held by FED member banks to intervene in the gold market.

 

The FED's member banks include the bullion banks, who obviously wield control of COMEX via concentrated positions or 'constant' market corners.

 

Gold Anti-Trust Action Committee

 

GATA has documented (modern) evidence, by the use of their FOMC Freedom of Information Request, that the fund has very broad legal authority to intervene anywhere.

 

The fund also works in conjunction with the FED - again, as stated at the Treasury site - which more than implies market coordination and collusion.

With gold, they still have the ability maintain that illusion.

 

Silver achilles

Silver is a bigger 'problem' because CB's don't have any physical metal to "inject" into the market in order to maintain the confidence game.

 

But probably not for long. And one might assume the end is very near, given how fragile/vulnerable the system is (especially the credit/REPO market) to "unforeseen" shocks, Black Swans, etc.

 

This is where I find it too easy to get carried away. One quick look around the macro world reveals a host of potential shocks. This would fuel the need and opportunity to build short-term predictions about current events (rationalized with evermore sophisticated technical or trading indicators).

 

Interpreting the whistleblower

 

The work of GATA and Ted Butler dovetail somewhat. GATA has exposed the reality and legal mechanism for intervention. Ted focuses mainly on the details of how that intervention manifests in the trading data.

 

Backing up further, it's generally accepted by the "street" that the FED, the Treasury or the ESF intervene all over the place - and that's perfectly okay. But mention of precious metals intervention remains a very successful (though ultimately destructive) taboo.

 

The ESF, with its broad authority and coordination with the FED (and by proxy, the FED's member banks) have the ability to control prices in both gold and silver. This also happens to be very profitable for the banks.

 

The giant banks are given carte blanche by the mainstream because they are so "successfu", and “surely the man in the fancy suit is someone you can trust”. They are also too big to fail and/or prosecute.

 

Price suppression, controls, and manipulation are common occurrences. They have been observed and documented for practically all modern markets. And they always end eventually.

 

Just because it is legal does not make it right.

 

In the ultimate public relations triumph, the most economically destructive are actually perfectly acceptable by the majority of observers. However, the most dangerous to the financial system and the governments who serve them is the manipulation of the monetary metals.

 

For more articles like this, including thoughtful precious metals analysis beyond the mainstream propaganda and basically everything you need to know about silver short of outlandish price predictions, check out http://www.silver-coin-investor.com

 

 

http://www.commodity...62-3-56963.html

ถูกแก้ไข โดย Namchiang

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

สวัสดีตอนเช้าครับ

 

เช้านี้บาท อ๊อน อ่อนนนน

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ราคาทองฟิวเจอร์ลดลง ขณะนลท.รอดูรายงานข้อมูลเศรษฐกิจคืนนี้

ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน 2556 19:47:57 น.

 

ราคาทองฟิวเจอร์ปรับตัวลดลง ขณะที่นักลงทุนยังรอดูการรายงานข้อมูลเศรษฐกิจสหรัฐในคืนนี้ เพื่อนำมาใช้เป็นปัจจัยในการประเมินว่า ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะยังคงเดินหน้าใช้มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ต่อไปหรือไม่

 

สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนธ.ค.ปรับตัวลดลงเล็กน้อย แตะที่ 1,310.30 ดอลลาร์/ออนซ์

 

นักลงทุนกำลังจับตาดูกระทรวงแรงงานสหรัฐที่จะเปิดเผยตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนต.ค.ในวันนี้ เวลา 20.30 น.ตามเวลาไทย ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่าตัวเลขจ้างงานเดือนต.ค.จะเพิ่มขึ้น 125,000 ตำแหน่ง และคาดว่าอัตราว่างงานจะทรงตัวอยู่ที่ 7.3%

 

ทั้งนี้ ตัวเลขคาดการณ์ดังกล่าวมีขึ้นหลังจากที่ทางการสหรัฐรายงานว่า จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ที่สิ้นสุด ณ วันที่ 2 พ.ย.ปรับตัวลดลง 9,000 ราย สู่ระดับ 336,000 ราย ใกล้เคียงกับที่นักวิเคราะห์คาดว่าตัวเลขดังกล่าวจะลดลงมาอยู่ที่ระดับ 335,000 ราย จากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 340,000 ราย

อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย อรษา สงค์พูล โทร.02-2535000 ต่อ 315 อีเมล์: interdesk@infoquest.co.th--

 

http://www.ryt9.com/s/iq31/1773450

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

11 พฤศจิกายน 2556 เวลา 08:12 น. |

 

สรุปหุ้น-น้ำมัน-ทองคำ-ค่าเงิน

 

ดัชนีและภาวะตลาดหุ้น น้ำมัน ทองคำ และตลาดเงินต่างประเทศ ประจำวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556

 

 

ดัชนี DJIA ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดที่ 15,761.78 จุด เพิ่มขึ้น 167.80 จุด +1.08%

ดัชนี NASDAQ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดที่ 3,919.23 จุด เพิ่มขึ้น 61.90 จุด +1.60%

ดัชนี S&P500 ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดที่ 1,770.61 จุด เพิ่มขึ้น 23.46 จุด +1.34%

 

ดัชนี CAC-40 ตลาดหุ้นฝรั่งเศสปิดที่ 4,260.44 จุด ลดลง 20.55 จุด -0.48%

ดัชนี DAX ตลาดหุ้นเยอรมันปิดที่ 9,078.28 จุด ลดลง 2.75 จุด -0.03%

ดัชนี FTSE 100 ตลาดหุ้นลอนดอนปิดที่ 6,708.42 จุด เพิ่มขึ้น 11.20 จุด +0.17%

 

ดัชนี Jakarta Composite ตลาดหุ้นอินโดนีเซียปิดที่ 4,476.72 จุด ลดลง 9.39 จุด -0.21%

ดัชนี FBMKLCI ตลาดหุ้นมาเลเซียปิดที่ 1,804.48 จุด ลดลง 2.13 จุด -0.12%

ดัชนี FTSE STI ตลาดหุ้นสิงคโปร์ปิดที่ 3,177.25 จุด ลดลง 24.85 จุด-0.78%

ดัชนี SENSEX ตลาดหุ้นอินเดียปิดที่ 20,666.15 จุด ลดลง 156.62 จุด-0.75%

ดัชนี HSI ตลาดหุ้นฮ่องกงปิดที่ 22,744.39 จุด ลดลง 136.64 จุด-0.60%

 

ดัชนี PSE Composite ตลาดหุ้นฟิลิปปินส์ปิดที่ 6,355.18 จุด ลดลง 81.31 จุด -1.26%

ดัชนี SSE Composite ตลาดหุ้นจีนปิดที่ 2,106.13 จุด ลดลง 23.27 จุด -1.09%

ดัชนี KOSPI ตลาดหุ้นเกาหลีใต้ปิดที่ 1,984.87 จุด ลดลง 19.17 จุด -0.96%

 

ดัชนี NIKKEI 225 ตลาดหุ้นญี่ปุ่นปิดที่ 14,086.80 จุด ลดลง 141.64 จุด -1.00%

ดัชนี TAIEX ตลาดหุ้นไต้หวันปิดที่ 8,229.59 จุด ลดลง 54.12 จุด -0.66%

ดัชนี S&P/ASX 200 ตลาดหุ้นออสเตรเลียปิดที่ 5,400.70 จุด ลดลง 21.30 จุด-0.39%

 

ดัชนีดาวโจนส์ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดพุ่งแตะสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์เมื่อวันศุกร์ (8 พ.ย.) หลังจากสหรัฐเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนต.ค.ที่แข็งแกร่งกว่าการคาดการณ์ของตลาด

ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์พุ่งขึ้น 167.80 จุด หรือ 1.08% ปิดที่ 15,761.78 จุด ดัชนี S&P 500 เพิ่มขึ้น 23.46 จุดหรือ 1.34% ปิดที่ 1,770.61 จุด และดัชนี Nasdaq เพิ่มขึ้น 61.90 จุดหรือ 1.60% ปิดที่ 3,919.23 จุด

 

สัญญาน้ำมันดิบเวสต์เท็กซัส (WTI) ตลาดนิวยอร์กปิดปรับตัวขึ้นเมื่อวันศุกร์ (8 พ.ย.) หลังจากสหรัฐเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนต.ค.ที่สูงกว่าการคาดการณ์

สัญญาน้ำมันดิบ WTI ส่งมอบเดือนธ.ค.เพิ่มขึ้น 40 เซนต์ ปิดที่ 94.60 ดอลลาร์/บาร์เรล

สัญญาน้ำมันดิบเบรนท์ส่งมอบเดือนธ.ค.ที่ตลาดลอนดอนเพิ่มขึ้น 1.66 ดอลลาร์ ปิดที่ 105.12 ดอลลาร์/บาร์เรล

 

สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดปรับตัวลงเมื่อวันศุกร์ (8 พ.ย.) โดยร่วงหลุดระดับ 1,300 ดอลลาร์/ออนซ์ หลังสหรัฐเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรที่สูงกว่าคาดการณ์ สัญญาทองคำได้ร่วงลงมากกว่า 2% ในสัปดาห์นี้

สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนธ.ค.ลดลง 23.9 ดอลลาร์ หรือ 1.83% ปิดที่ 1,284.6 ดอลลาร์/ออนซ์

สัญญาโลหะเงินส่งมอบเดือนธ.ค.ปิดที่ 21.317 ดอลลาร์/ออนซ์ ลดลง 34 เซนต์

สัญญาพลาตินัมส่งมอบเดือนม.ค.ปิดที่ 1442.90 ดอลลาร์/ออนซ์ ลดลง 13.90 เซนต์ และสัญญาพัลลาเดียมส่งมอบเดือนธ.ค.ปิดที่ 757.90 ดอลลาร์/ออนซ์ ลดลง 1.25 เซนต์

 

ดอลลาร์ปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นๆเมื่อวันศุกร์ (8 พ.ย.) หลังจากสหรัฐเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนต.ค.ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงกว่าการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ ข้อมูลดังกล่าวกระตุ้นการคาดการณ์ที่ว่า ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจจะปรับลดขนาดของโครงการซื้อพันธบัตรลงในช่วงถัดไปของปีนี้

ยูโรปรับตัวลง 0.53% แตะที่ 1.3347 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.3418 ดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ปอนด์ลดลง 0.65% แตะที่ 1.5992 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.6096 ดอลลาร์สหรัฐ

ดอลลาร์เพิ่มขึ้น 0.94% เมื่อเทียบเยน แตะที่ 99.000 เยน จากระดับ 98.080 เยน และเพิ่มขึ้น 0.72% เมื่อเทียบกับฟรังค์สวิส แตะที่ระดับ 0.9222 ฟรังค์ จากระดับ 0.9156 ฟรังค์

ดอลลาร์ออสเตรเลียลดลง 0.87% แตะที่ 0.9371 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.9453 ดอลลาร์สหรัฐ และดอลลาร์นิวซีแลนด์ลดลง 0.79% แตะที่ 0.8253 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.8319 ดอลลาร์สหรัฐ

 

ดัชนี FTSE 100 ตลาดหุ้นลอนดอนปิดปรับตัวขึ้นเมื่อวันศุกร์ (8 พ.ย.) หลังจากสหรัฐเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนต.ค.ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงกว่าการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์

ดัชนี FTSE 100 เพิ่มขึ้น 11.20 จุด หรือ 0.17% แตะที่ 6,708.42 จุด

 

ตลาดหุ้นยุโรปปิดลบเมื่อวันศุกร์ (8 พ.ย.) เพราะได้รับแรงกดดันจากความวิตกกังวลที่ว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจจะตัดสินใจลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) หลังจากตัวเลขจ้างงานของสหรัฐขยายตัวแข็งแกร่งเกินคาด

ดัชนี Stoxx Europe 600 ลดลง 0.2% ปิดที่ 322.72 จุด

ดัชนี CAC-40 ตลาดหุ้นฝรั่งเศสปิดที่ 4,260.44 จุด ลดลง 20.55 จุด หรือ -0.48% ดัชนี DAX ตลาดหุ้นเยอรมันปิดที่ 9,078.28 จุด ลดลง 2.75 จุด หรือ -0.03% ดัชนี FTSE 100 ตลาดหุ้นลอนดอนปิดที่ 6,708.42 จุด เพิ่มขึ้น 11.20 จุด หรือ +0.17%

 

http://www.posttoday.com

ถูกแก้ไข โดย Namchiang

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

มันแหง่อยู่แล้วที่ว่า ราคาทองตลาดโลกย่อลดลง สัญญานฯรหัส ต่างๆ เมื่อปิดตลาดเช้ามืดวันเสาร์ ก็ต้องออกด้านลบ แต่บาทอ่อน อย่างมาก จากอะไร ก็คงเห็นๆ กันอยู่นะครับ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Join the conversation

You can post now and register later. If you have an account, sign in now to post with your account.

ผู้มาเยือน
ตอบกลับกระทู้นี้...

×   วางข้อความแบบ rich text.   วางแบบข้อความธรรมดาแทน

  อนุญาตให้ใช้ได้ไม่เกิน 75 อิโมติคอน.

×   ลิงก์ของคุณถูกฝังอัตโนมัติ.   แสดงเป็นลิงก์แทน

×   เนื้อหาเดิมของคุณได้ถูกเรียกกลับคืนมาแล้ว.   เคลียร์อิดิเตอร์

×   คุณไม่สามารถวางรูปภาพได้โดยตรง กรุณาอัปโหลดหรือแทรกภาพจาก URL

กำลังโหลด...

  • เข้ามาดูเมื่อเร็วๆนี้   0 สมาชิก

    ไม่มีผู้ใช้งานที่ลงทะเบียนกำลังดูหน้านี้

×
×
  • สร้างใหม่...