ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 

โพสต์แนะนำ

คุณเสมแว่บเข้ามาแล้ว ขอบคุณคร้าบ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

งดขายทองคำแท่งทุกเสาร์-อาทิตย์ เริ่มสัปดาห์นี้เลย

 

http://www.thairath.co.th/content/eco/197349

 

เจ้ามือปิดบ่อนหนีอีกแระ มังผังผวงปะจำเลยง่า อาทิตย์ก่อนยังยุให้ซื้ออยู่เลย คราวนี้ไม่ยอมเปิดขาย

:ph34r:

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ขอบคุณมากคะคุณเสม :P

ย่อรอบนี้จะรีบเก็บเพิ่มคะ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ผลฟุตบอลพรีเมียร์ลีก

 

27/08/2011

 

แอสตัน วิลล่า 0 - 0 วูล์ฟแฮมป์ตัน

 

แบล็คเบิร์น 0 - 1 เอฟเวอร์ตัน

 

เชลซี 3 - 1 นอริช ซิตี้

 

ลิเวอร์พูล 3 - 1 โบลตัน

 

สวอนซี 0 - 0 ซันเดอร์แลนด์

 

วีแกน 2 - 0 ควีนส์ปาร์ค

 

28/08/2011

 

แมนฯ ยูไนเต็ด 8 - 2 อาร์เซน่อล

 

นิวคาสเซิ่ล 2 - 1 ฟูแล่ม

 

สเปอร์ส 1 - 5 แมนฯ ซิตี้

 

เวสต์บรอมวิช 0 - 1 สโต๊ค ซิตี้

 

 

ปืน โดนซะเละเลยครับ :(

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ขอฝากจาก fb คุณเสม

 

เสาร์ที่ 27 สิงหาคม 2554

 

 

GC ยังเขียว ระยะสั้นย่อตัวลง ระยะกลางเเละยาว Bullish มากมาย

 

SET20110827 ไหลลงต่อเนื่อง

 

CL ยังไม่มีการกลับตัวไหลลงต่อเนื่อง ศก. โลกมีปัญหาเเน่นอน

 

ยาง TC ยังไม่หลุดจาก Downtrend ราคา Break SEC ไปได้ราคาจะวิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 

 

เพิ่มเติม : GC ได้ SL ใหม่ ที่ 1,757.30 แล้วนะครับ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

พรีเมียร์ลีค เดี๋ยวนี้ใครไม่ยอมเคลื่อนไปข้างหน้าด้วยการจัดแผนใหม่ หาตัวเล่นเสริมตัวใหม่ อยู่รอดยากจริงๆ แม้เป็นทีมใหญ่ แมนซิตี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่กดดันให้ เฟอร์กูสันต้องทุ่มเทหนักในการเร่งปรับปรุงทีมอย่างรวดเร็ว ดูทั้ง 2 ทีมนี้ น่าจะอยากลองท้าบาร์ซ่าแข่งซักตั้งนะครับ :rolleyes:

 

ผมดีใจที่ เคนนี่ ไม่ยอมพลาดจุดนี้ด้วยการซื้อนักเตะเพิ่ม พยายามปรับปรุงทีมอย่างรวดเร็วครับ ถูกใจจริงๆ แม้นไม่เทียบ 2 ทีมที่ว่ามา

 

 

อาร์เซน่อล คงขาดจุดที่ว่ามาจริงๆ ในฤดูกาลนี้ แต่นี่มันก็ยังแข่งไม่กี่นัด ยังมีโอกาสปรับปรุงอีกทั้งฤดูกาล ขอให้น่อลชนะ นะครับ นัดหน้า ขอจริงๆ นะ เห็นแม้ทซ์ที่ผ่านมาแล้วสงสารจริงๆ ครับ

 

:lol:

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

บาร์เซโลนา เปิดบ้านถล่ม "เรือดำน้ำสีเหลือง"บียาร์รีล เละทะ 5-0 ในเกมลาลีกา สเปน เมื่อคืนวันจันทร์ที่ 29 สิงหาคมที่ผ่านมา ขณะที่เชส ฟาเบรกาส ฝากผลงานประทับใจแฟนๆด้วยการยิงประตูในเกมนี้ด้วย

 

เชส เปิดตัวกับ บาร์ซ่า ด้วยการยิงประตู

 

แชร์ เปิดตัวกับ ปืน ด้วยใบแดง

 

:lol: :lol: :lol: :lol:

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ขอฝากจาก fb คุณเสม

 

เสาร์ที่ 27 สิงหาคม 2554

 

 

GC ยังเขียว ระยะสั้นย่อตัวลง ระยะกลางเเละยาว Bullish มากมาย

 

SET20110827 ไหลลงต่อเนื่อง

 

CL ยังไม่มีการกลับตัวไหลลงต่อเนื่อง ศก. โลกมีปัญหาเเน่นอน

 

ยาง TC ยังไม่หลุดจาก Downtrend ราคา Break SEC ไปได้ราคาจะวิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 

 

เพิ่มเติม : GC ได้ SL ใหม่ ที่ 1,757.30 แล้วนะครับ

 

 

กระทู้ในฝันเลยครับ ได้ทั้งสาระ(ทอง)บันเทิง(บอล)ไม่ต้องไปหาดูที่ไหนอีกเลย

ขอบคุณคุณเสมและคุณhenry มากมายครับ :)

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ย่อเก็บยาวสักนิด( ทองไม่มีวันตายครับ)post-442-007478500 1314672652.gif

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ทำตามระบบ ทำได้ยาก แต่ทำได้แล้วเป็นสุข สบายใจ (เหมือนหมดกรรม โลภ-กลัว :lol: )

 

2-3 วันที่แล้วทำเอาใจแกว่งไปมาก แต่ถ้าทำตามระบบไม่ต้องทำอะไรเลย(แท่ง) สบ๊าย สบาย

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ขอบคุณมากครับคุณเสม คุณส้มโอมือ !01 !01

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ทำตามระบบ ทำได้ยาก แต่ทำได้แล้วเป็นสุข สบายใจ (เหมือนหมดกรรม โลภ-กลัว :lol: )

 

2-3 วันที่แล้วทำเอาใจแกว่งไปมาก แต่ถ้าทำตามระบบไม่ต้องทำอะไรเลย(แท่ง) สบ๊าย สบาย

เยี่ยมมากครับ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

เงินยูโร ระเบิดเวลาลูกเก่า (1)

เศรษฐศาสตร์จานร้อน : ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม 2554

 

 

 

ทุกวันนี้มีการพูดถึงกันมากเรื่องวิกฤตการณ์หนี้ในยุโรป ที่เริ่มจากกรีซ ที่มีขนาดเศรษฐกิจไม่ต่างจากประเทศไทยนัก และลามไปสู่ ไอร์แลนด์ โปรตุเก

 

และทำเอานักลงทุนใจหายใจคว่ำ เมื่อมีข่าวว่าประเทศขนาดใหญ่อย่าง สเปน และอิตาลี ก็เริ่มมีชื่อเข้าไปในข่ายผู้ต้องสงสัยเสียแล้ว เพราะขนาดของประเทศและปัญหาไม่ “เล็ก” อีกต่อไป เริ่มจะเข้าไปสู่ขนาดที่เรียกได้ว่า too big to fail คือใหญ่เกินไปที่จะปล่อยให้เจ๊ง เพราะไม่มีใครมีปัญญาจะรับมือกับขนาดของปัญหาได้

 

ทำไมปัญหาหนี้สินถึงเกิดขึ้นกับประเทศในยุโรปพร้อมๆ กัน หรือไม่ไปเกิดที่อื่นกันบ้าง?

 

ส่วนหนึ่งเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างด้านการคลังที่บางประเทศมีภาระการคลังสูง โดยเฉพาะการเป็นรัฐสวัสดิการทำให้ภาระค่าใช้จ่ายช่วยเหลือประชาชนเมื่อตกงานและเกษียณอายุค่อนข้างมาก เมื่อเศรษฐกิจเริ่มซบเซารายได้ภาษีไม่พอกับรายจ่าย ทำให้หนี้สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนบางประเทศเช่น ไอร์แลนด์เกิดจากภาระที่รัฐบาลต้องเข้าไปอุ้มระบบสถาบันการเงิน

 

แต่ปัญหาใหญ่อีกอันหนึ่ง ซึ่งผมว่าเป็นปัญหาที่ซ่อนตัวมานาน และเริ่มแสดงให้เห็นชัดเจนมากขึ้น คือ จุดอ่อนของการขาดอิสระในการดำเนินนโยบายการเงินและนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนจากการใช้เงินยูโรของหลายประเทศในยุโรป จนทำให้บางประเทศเข้าสู่ภาวการณ์ขาดความสามารถทางการแข่งขันแบบถาวร สังเกตได้จากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดแบบยาวนาน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่ำเอามากๆ

ฟังดูแล้วอาจสงสัยว่ามันเกี่ยวอะไรกัน ผมขอย้อนเล่าเรื่องเงินยูโรให้ฟังสักหน่อยนะครับ

 

เงินยูโร เริ่มเป็นรูปเป็นร่างปลายทศวรรษ 1980s และต้นทศวรรษ 1990s โดยความคิดในการใช้เงินสกุลร่วมกันเพื่อสนับสนุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจและลดต้นทุนจากความเชื่อมโยงกันทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรป ก่อนที่จะมีการใช้เงินสกุลยูโรอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1999

 

ก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1992 ประเทศในประชาคมยุโรปได้ร่างสนธิสัญญา Maastricht เพื่อตั้งกฎเหล็กสี่ข้อไว้สำหรับประเทศที่ต้องการใช้เงินสกุลยูโรร่วมกัน คือ

 

๐ เงินเฟ้อต้องต่ำ คือต้องไม่สูงกว่าอัตราเงินเฟ้อของประเทศที่มีเงินเฟ้อต่ำสุดในสหภาพยุโรปเกินร้อยละ 1.5

 

๐ ต้องมีวินัยทางการคลังดีเยี่ยม คือ ขาดดุลงบประมาณได้ไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี และหนี้ไม่เกินร้อยละ 60 ของ GDP

 

๐ ต้องผ่านการทดสอบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ไม่น้อยกว่าสองปี กล่าวคือต้องเข้าสู่ระบบที่เรียกว่า exchange rate mechanism (ERM) ที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่โดยยึดค่าเงินไว้กับเงินยูโร (หรือเรียกว่า European Currency Unit-ECU ก่อนที่จะมีเงินยูโร)

 

๐ อัตราดอกเบี้ยระยะยาว ต้องไม่สูงกว่าประเทศที่มีเงินเฟ้อต่ำสุดเกินร้อยละสอง

 

กฎเหล็กสี่ข้อนี้ มีไว้เพื่อทดสอบว่าประเทศที่จะร่วมใช้เงินยูโร มีความสามารถในการสละนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนของตนได้ (แต่ก็มีการแอบยกเว้นกฎบางข้อให้กับบางประเทศ)

 

ถ้ามองทางเศรษฐศาสตร์แล้ว การสละเงินสกุลของประเทศ ก็คือก็การยอมสละนโยบายการเงิน และนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไปด้วย เพราะนโยบายการเงินจะถูกกำหนดโดย “ประเทศอื่น” ที่ไม่ใช่ธนาคารกลางของตนเอง (เช่นในกรณีของยูโร ก็คือธนาคารกลางยุโรป หรือ ECB)

 

ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องใหญ่มากนะครับ เพราะเท่ากับว่าประเทศนั้นๆ ไม่สามารถกำหนดนโยบายการเงิน (ไม่สามารถตั้งอัตราดอกเบี้ยของตัวเองได้) และไม่สามารถเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยนของตัวเองได้อีกต่อไป ไม่ว่าเศรษฐกิจของประเทศตนจะเป็นอย่างไร

 

ทีนี้ปัญหาคือว่า ถ้าประเทศในกลุ่มที่มีการใช้เงินสกุลเดียวกัน มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่สอดคล้องกัน ใครจะเป็นผู้กำหนดนโยบายการเงิน และนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งผมขอเขียนถึงเรื่องนี้ในสัปดาห์หน้าครับ

 

บทความนี้ได้รับการอนุเคราะห์จาก ดร.พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ภัทร จำกัด (มหาชน)

 

--------------------------------------------------------------------------------------------

มีตารางดีๆที่ผมcopyมาไม่ได้ ตามไปดูที่

http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2011q3/2011_August_29p1.htm

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

GC : เขียว (SL 1,757.30)

 

SI : เขียว (SL 39.20)

 

SET : แดง

 

S50 : แดง

 

TOCOM : เขียวแรก

 

AFET : เขียวแรก (SL 137.65)

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Join the conversation

You can post now and register later. If you have an account, sign in now to post with your account.

ผู้มาเยือน
ตอบกลับกระทู้นี้...

×   วางข้อความแบบ rich text.   วางแบบข้อความธรรมดาแทน

  อนุญาตให้ใช้ได้ไม่เกิน 75 อิโมติคอน.

×   ลิงก์ของคุณถูกฝังอัตโนมัติ.   แสดงเป็นลิงก์แทน

×   เนื้อหาเดิมของคุณได้ถูกเรียกกลับคืนมาแล้ว.   เคลียร์อิดิเตอร์

×   คุณไม่สามารถวางรูปภาพได้โดยตรง กรุณาอัปโหลดหรือแทรกภาพจาก URL

กำลังโหลด...

  • เข้ามาดูเมื่อเร็วๆนี้   0 สมาชิก

    ไม่มีผู้ใช้งานที่ลงทะเบียนกำลังดูหน้านี้

×
×
  • สร้างใหม่...