ข้ามไปเนื้อหา
Update
 
 
Gold
 
USD/THB
 
สมาคมฯ
 
Gold965%
 
Gold9999
 
CrudeOil
 
USDX
 
Dowjones
 
GLD10US
 
HUI
 
SPDR(ton)
 
Silver
 
Silver/Oz
 
Silver/Baht
 
Nexttonothing

โอกาส "เงิน" (จริงๆ) : ระยะประชิด

โพสต์แนะนำ

จากที่ผมได้คุยกับบุคคลผู้หนึ่งที่อยู่ในการไฟฟ้าแห่งประเทศไทย เขาได้บอกผมว่า ณ วันนี้ แผงโซล่า ยังไม่เป็นที่นิยมเพราะว่าราคายังแพงอยู่ ต้องใช้เวลา 8 ปี ถึงจะคุ้มทุน แต่ในอนาคต แผงโซล่าเซลล์จะมีต้นทุนที่ถูกลงเรื่อยๆ จากใน 2-3 ปีที่ผ่านมา ราคาแผงโซล่าเซลล์ก็มีราคาที่ถูกลงไปค่อนข้างเยอะ จำไม่ได้ว่าเขาบอกว่าราคาอยู่ที่เท่าไหร่ในตอนนี้ ( วันนั้นคุยที่ร้านอาหาร ดื่มไปมากพอสมควร ) แต่จากที่เขาบอกว่าต่อไป เมืองไทยต้องใช้กันแน่ๆ ในอนาคต อุสาหกรรมนี้กำลังเข้ามาเติบโตในไทย เพราะองกรณ์ไฟฟ้าก็ยินดีร่วมมือกับผู้ที่สนใจ ยังไงองค์กรณ์ไฟฟ้าก็ได้ส่วนต่าง วันหนึ่งที่ต้นทุนแผงถูกลง มีคนมาทำแน่ ผมก็คนหนึ่งแหละ ที่สนใจในอุสาหกรรมนี้

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ประเด็นเรื่อง Solar Cell ในเมืองไทยนี่น่าสนใจ

ผมเคยคุยกับทางฝ่ายขายของ SCG เขาบอกว่า SCG มีแผนที่จะออก

กระเบื้องมุงหลังคารุ่นใหม่ ที่ติดแผง Solar Cell ในตัวเลย

กำลังเคาะราคากันอยู่ แต่จะพยายามออกให้ได้ในปีนี้

ถ้าเป็นจริง ก็แจ่มเลย

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

เมื่อคืน มันเล่นกันอีกแล้ว ถือว่ามีกระดาษอยู่ในมือเยอะหรือไงฟ่ะ

http://silverdoctors.blogspot.com/2012/03/132-million-ounces-of-paper-silver.html

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ประเด็นเรื่อง Solar Cell ในเมืองไทยนี่น่าสนใจ

ผมเคยคุยกับทางฝ่ายขายของ SCG เขาบอกว่า SCG มีแผนที่จะออก

กระเบื้องมุงหลังคารุ่นใหม่ ที่ติดแผง Solar Cell ในตัวเลย

กำลังเคาะราคากันอยู่ แต่จะพยายามออกให้ได้ในปีนี้

ถ้าเป็นจริง ก็แจ่มเลย

 

สะดวกมั้ยครับ อยากได้ข้อมูลว่าบริษัทนี้ใช้โลหะเงินในการผลิตเยอะมั้ย คือสงสัยว่าแผงsolar cell มีแบบไม่ใช้โลหะเงินในการผลิตด้วยมั้ย ส่วนมากที่อ่านจากเวปไทยไม่เห็นพูดถึงโลหะเงินในการผลิต เวปต่างประเทศถ้าเนื้อหาไม่เยอะยังพอไว ถ้าเยอะอ่านไม่นานก็เดี๊ยงแล้วครับ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

สะดวกมั้ยครับ อยากได้ข้อมูลว่าบริษัทนี้ใช้โลหะเงินในการผลิตเยอะมั้ย คือสงสัยว่าแผงsolar cell มีแบบไม่ใช้โลหะเงินในการผลิตด้วยมั้ย ส่วนมากที่อ่านจากเวปไทยไม่เห็นพูดถึงโลหะเงินในการผลิต เวปต่างประเทศถ้าเนื้อหาไม่เยอะยังพอไว ถ้าเยอะอ่านไม่นานก็เดี๊ยงแล้วครับ

 

เดี๋ยวลองหาดูก่อนครับ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

จากที่ผมได้คุยกับบุคคลผู้หนึ่งที่อยู่ในการไฟฟ้าแห่งประเทศไทย เขาได้บอกผมว่า ณ วันนี้ แผงโซล่า ยังไม่เป็นที่นิยมเพราะว่าราคายังแพงอยู่ ต้องใช้เวลา 8 ปี ถึงจะคุ้มทุน แต่ในอนาคต แผงโซล่าเซลล์จะมีต้นทุนที่ถูกลงเรื่อยๆ จากใน 2-3 ปีที่ผ่านมา ราคาแผงโซล่าเซลล์ก็มีราคาที่ถูกลงไปค่อนข้างเยอะ จำไม่ได้ว่าเขาบอกว่าราคาอยู่ที่เท่าไหร่ในตอนนี้ ( วันนั้นคุยที่ร้านอาหาร ดื่มไปมากพอสมควร ) แต่จากที่เขาบอกว่าต่อไป เมืองไทยต้องใช้กันแน่ๆ ในอนาคต อุสาหกรรมนี้กำลังเข้ามาเติบโตในไทย เพราะองกรณ์ไฟฟ้าก็ยินดีร่วมมือกับผู้ที่สนใจ ยังไงองค์กรณ์ไฟฟ้าก็ได้ส่วนต่าง วันหนึ่งที่ต้นทุนแผงถูกลง มีคนมาทำแน่ ผมก็คนหนึ่งแหละ ที่สนใจในอุสาหกรรมนี้

 

 

 

เรื่องความคุ้มค่าของการลงทุน ต้องคิดละเอียดนะครับแล้วต้องเอาดอกเบี้ยที่จะได้แต่ละปี ไปรวมกับเงินต้นด้วย ในกรณีดอกเบี้ยดี(ดอกที่ได้จากดอกเบี้ยสะสมแซงเงินต้นไปไกลเลยนะ) เพื่อนที่ฐานะดีคนนึงเขามีซื้อประกันให้คนในครอบครัวเขาด้วย เขาบอกว่าเขาซื้อในช่วงที่ประกันให้ผลตอบแทนสูง ตอนนี้ดอกเบี้ยเงินฝากลด

แต่ประกันที่เขาซื้อให้ผลตอบแทนสูงกว่าเงินฝากประจำธนาคารอีก คือให้ถึงร้อยละ6ต่อปี

ผมลองสะกิดเขานิดหน่อยแล้วว่าได้เอาดอกเบี้ยทบต้นมาคิดมั้ย ประกันจ่ายผลตอบแทนเมื่อครบอายุสัญญา ไม่เอาดอกเบี้ยที่ได้ระหว่างปีมาคิดเพิ่มผลตอบแทนให้เรา เห็นเพื่อนเขามีความสุขดีกับสิ่งที่เขาคิดอีกอย่างฐานะเขาดีมาก ผมเลยไม่สะกิดมาก บางครั้งความภูมิใจก็มีค่ามากกว่าเงินที่ได้

วันนี้ผมจะลองคุยเรื่องความมหัศจรรย์ของดอกเบี้ย เชื่อมั้ยอาชีพที่รวยมากคืออาชีพปล่อยเงินกู้ถ้าไม่ถูกโกงและไม่กลัวกรรมจากการทำนาบนหลังคน เงินต้นแค่1ล้านบาทถ้าปล่อยกู้อัตราดอกเบี้ยร้อยละ3ต่อเดือน ดอกเบี้ยที่ได้มาปล่อยให้กู้ตลอดไม่นำมาใช้เลย ครบ21ปีจะมีเงินทั้งหมดเท่าไหร่

 

------กรณีแรกเอาเงินฝากบัญชี1ล้านบาท ไม่คิดอัตราดอกเบี้ยต้นทบดอกแบบที่ประกันใช้เป็นเทคนิคในการขายประกัน

--1ล้านดอก36%ต่อปี ก็360000 จำนวน21ปีก็ได้ดอก =21*360000= 7,560,000

แบบที่ประกันใช้ประจำก็คือครบ21ปีจะได้คืน 8,560,000(บอกว่าได้ดอกเท่าไหร่ต่อปีแต่ไม่เอาดอกที่ได้ระหว่างปีมาคิด)

 

------กรณีที่2เงิน1ล้านบาทเหมือนกัน แต่ดอกที่ได้นำมาฝากแล้วรับดอกเบี้ยต่อด้วย ดอกที่ได้ไม่ถอนแล้วฝากตลอด

---ปีที่1ได้ดอก36%

---ปีที่2ได้ดอกอีก36%(กรณีจริงได้มากกว่านี้เพราะดอกของปีแรกที่ฝากก็ได้ดอกด้วย)

---ปีที่3ได้ดอกอีก36%

----สรุปทุก3ปีได้ดอกไม่ต่ำกว่า100%ของเงินต้น คิดง่าย100%ต่อทุก3ปีก็แล้วกัน ที่เหลือยอมไม่คิดก็แล้วกัน 21ปีจะเท่ากับ 3ปีถึง7ครั้ง เชื่อมั้ยจะได้เงินมากขนาดไหน พวกปล่อยเงินกู้ถึงกำไรมากมาย(แต่บาปนะทำนาบนหลังคน)

3ปีที่1----จาก1ล้านกลายเป็น2ล้าน(ดอก108%แต่คิด100%พอคิดง่ายหน่อย

3ปีที่2----จาก2ล้านกลายเป็น4ล้าน

3ปีที่3—จาก4ล้านกลายเป็น8ล้าน

3ปีที่4---จาก8ล้านกลายเป็น16ล้าน

3ปีที่5—จาก16ล้านกลายเป็น32ล้าน

3ปีที่6---จาก32ล้านกลายเป็น64ล้าน

3ปีที่7—จาก64ล้านกลายเป็น128ล้าน ถ้าคิดละเอียดจริงและเราได้ดอกเป็นรายเดือน เอาดอกไปปล่อยต่อตลอดทุกเดือน น่าจะได้เกิน200ล้าน

 

--------เรื่องความคุ้มค่าการลงทุนอย่าลืมความมหัศจรรย์ของดอกเบี้ยทบต้นด้วย(ดอกทุกดอกจะได้ดอกด้วย) วอเรนต์บัฟเฟอร์ถึงรวยมากมายด้วยบริหารเงินกองทุนให้ได้กำไรประมาณ20%ทุกปี

--------การคิดความคุ้มค่าการลงทุนของSolar Cell ต้องคิดความมหัศจรรย์ของดอกเบี้ยให้ละเอียดด้วยนะว่าคุ้มค่าการลงทุนจริงมั้ย

ถูกแก้ไข โดย ส้มโอมือ

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

"ประวัติศาสตร์ กลับมา ซ้ำรอยเดิมเสมอ" อย่าคิดว่ามันจะไม่เกิดขึ้นกับเรา

 

 

โดย Siam Silver เมื่อ 14 มีนาคม 2012 เวลา 9:18 น. ·

431364_362322140474030_315015185204726_1076712_1159528134_a.jpg

428617_362322263807351_315015185204726_1076713_743476092_a.jpg

425848_362322363807341_315015185204726_1076715_1226347505_a.jpg

422894_362322483807329_315015185204726_1076718_1612385947_a.jpg

ประ เทศเยอร์มันในปี 1914 ก่อนที่จะเกิดสงคราม ขนมปัง 1 ก้อน ราคา $ 0.13 cents. 2 ปีต่อมา ขึ้น เป็น $ 0.19 cents. อีก 2 ปีต่อมาราคาขึ้นเป็น $ 0.22 cents. พอถึงปี 1919 ขนมปัง 1 ก้อนอยู่ที่ราคา $0.26 cents และต่อจากนี้ ความสนุกก็ได้เริ่มขึ้น.

ในปี 1920 ขนมปัง 1 ก้อน ได้ถีบตัวไปถึง $1.20. และพอถึงปี 1921 ราคาอยู่ที่ $1.35. อี่กหนึ่งปีต่อมา ราคาอยู่ที่ $3.50. พอถึงต้นปี 1923 ได้พุ่งไปอยู่ที่ $700 ต่อ 1 ก้อน.อีกห้าเดือนถัดมา ขนมปังได้ขึ้นไปถึง $1200. เดือนกันยายนในปีเดียวกัน ขนมปังขึ้นไปถึง $2 ล้านเหรียญ อีกเดือนถัดมาขึ้นไปถึง $670 ล้านเหรียญ ( คนเริ่มก่อเหตุจลาจลเกิดขึ้นในพื้นที่ต่างๆ) เดือนถัดไป ขึ้นไปถึง $3000 ล้าน ต่อ 1 ก้อน !!!อีไม่กี่อาทิตย์ต่อมา ราคาอยู่ที่ $10000 ล้าน และพอถึงเวลานั้น ทุกอย่างก็ล่มสลาย

ทุกๆคน รู้ว่า ธนบัตรในระบบเกี่ยวข้องกับ ค่าเงินเฟ้อ แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่า hyperinflation เกิดขึ้นเมื่อความเชื่อใจในระบบเงินตราได้หายไปจากประชาชน.เมื่อถึงจุดๆ หนึ่งที่ประชาชนรู้ว่า เงินในระบบมันเริ่มมีมากเกินไป ธนบัตรมีอยู่ในระบบมากเกินไป มากเกินราคาของสินค้าที่มีอยู่ในระบบ คนก็จะเริ่มใช้ธนบัตรเร็วขึ้น เมื่อประชาชนตาสว่าง เมื่อนั้นไม่มีใครอยากจะเก็บธนบัตรกระดาษไว้กับตัว พ่อค้าก็ไม่อยากจะรับธนบัตรกระดาษเพราะรู้ว่ามันไม่มีค่าเหมือนแต่ก่อน สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ การแลกเปลี่ยนสิ่งของกันแทนการรับธนบัตร การค้าเสรีเกิดขึ้นอีกครั้ง ถึงจุดนี้ รัฐบาลหรือ ธนาคารโลกทั้งหลายก็ได้เสียการควบคุมระบบเงินตราเป็นที่เรียบร้อย.

Hyperinflation ได้เกิดขึ้นมาเรี่อยๆกับประเทศต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น

Germany Weimer Republic 1922-1923. ( กล่าวไว้ข้างบน )

Hungary 1945-1946

Chile 1971-1981

Argentina 1975-1992

Peru 1988-1991

Angola 1991 – 1999

Yugoslavia 1992-1995

Belarus 1994-2002

Zimbabwe 2000-2009

วัน หนึ่ง เราอาจจะเห็นธนบัตรแบงค์ $100,000 dollar ก็เป็นได้ อะไรก็เป็นไปได้เสมอ แต่ถ้าคุณเตรียมพร้อมที่จะรับมือกับมัน คุณจะไม่กลัวกับเหตุการณ์เช่นนี้ วันหนึ่ง เมืองไทยอาจจะพิมพ์แบงค์ ใบละล้านออกมาก็ได้ เมื่อถึงวันนั้น คุณพร้อมไหม? ที่จะรับมือกับการล่มสลายของระบบเงินตรา? วันนี้ คุณเตรียมพร้อมอะไรยัง? ขนาดประเทศทั้งประเทศ ( greece , กรีซ ) ยังเกือบจะล่มสลายได้ แล้วทำไม ระบบเงินตราที่ไม่มีคุณค่าอะไรหนุนหลังเลยจะล่มสลายไม่ได้? วันหนึ่ง เราอาจจะได้ใช้ธนบัตรเป็นเชื้อเพลิงเหมือนกับในรูปข้างบนก็เป็นได้.

" ความมั่งคั่งไม่เคยถูกทำลาย แค่ถูกเปลี่ยนมือจากผู้หนึ่งไปอีกผู้หนึ่ง "

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

"ประวัติศาสตร์ กลับมา ซ้ำรอยเดิมเสมอ" อย่าคิดว่ามันจะไม่เกิดขึ้นกับเรา

 

 

โดย Siam Silver เมื่อ 14 มีนาคม 2012 เวลา 9:18 น. ·

431364_362322140474030_315015185204726_1076712_1159528134_a.jpg

428617_362322263807351_315015185204726_1076713_743476092_a.jpg

425848_362322363807341_315015185204726_1076715_1226347505_a.jpg

422894_362322483807329_315015185204726_1076718_1612385947_a.jpg

 

.....

 

อ่านแล้วอยากจะซื้อธนบัตร 100 ล้าน ล้าน ซิมบับเวียนดอลล่าร์ กับ ธนบัตร 10 ล้าน มาร์ค ของไวมาร์เยอรมันนีมาเก็บไว้เป็นที่ระลึก

 

:17

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

เก็บไว้เตือนใจดีกว่าคับ 555 ว่าอย่าประมาท อะไรก็เกิดขึ้นได้ ^^

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

เก็บไว้เตือนใจดีกว่าคับ 555 ว่าอย่าประมาท อะไรก็เกิดขึ้นได้ ^^

 

ใช่ครับ เป็นที่ระลึกไว้เตือนใจในกระเป๋าตังนี่ละครับ

 

 

 

อีกอย่าง จะได้เอาไว้พูดได้ ว่าผมก็มีตั้ง "100 ล้าน ล้าน" เชียวนะ

:_08

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

วันหนึ่ง เราอาจจะได้ใช้ธนบัตรเป็นเชื้อเพลิงเหมือนกับในรูปข้างบนก็เป็นได้.

 

 

 

ไม่น่าเผาเลย น่าเอามาใช้เป็นเงินในเกมเศรษฐี เด็กๆที่เล่นคงสนุกขึ้นว่าเงินกระดาษที่ใช้กันอดีตเคยเป็นเงินจริงๆ

----สำคัญที่สุดสอนให้เด็กรู้ว่าเงินกระดาษที่ใช้กัน มีสิทธิ์มีค่าเท่ากับเศษกระดาษถ้าความเชื่อถือหายไป

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ไม่น่าเผาเลย น่าเอามาใช้เป็นเงินในเกมเศรษฐี เด็กๆที่เล่นคงสนุกขึ้นว่าเงินกระดาษที่ใช้กันอดีตเคยเป็นเงินจริงๆ

----สำคัญที่สุดสอนให้เด็กรู้ว่าเงินกระดาษที่ใช้กัน มีสิทธิ์มีค่าเท่ากับเศษกระดาษถ้าความเชื่อถือหายไป

 

ช๊อตนั้นจำเป็นต้องเผาในช่วงหน้าหนาวเหมือนกันนะครับ

อีกอันที่เห็นคือเอามาทำเป็นวอลล์เปเปอร์

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

ไม่รู้ว่าจะจริงเท็จประการใด ก็ลองพิจารณากันดูนะครับ

http://silverdoctors.blogspot.com/2012/03/sd-exclusive-jp-morgan-whistleblower.html#more

แชร์โพสต์นี้


ลิงก์ไปโพสต์
แชร์ไปเว็บไซต์อื่น

Join the conversation

You can post now and register later. If you have an account, sign in now to post with your account.

ผู้มาเยือน
ตอบกลับกระทู้นี้...

×   วางข้อความแบบ rich text.   วางแบบข้อความธรรมดาแทน

  อนุญาตให้ใช้ได้ไม่เกิน 75 อิโมติคอน.

×   ลิงก์ของคุณถูกฝังอัตโนมัติ.   แสดงเป็นลิงก์แทน

×   เนื้อหาเดิมของคุณได้ถูกเรียกกลับคืนมาแล้ว.   เคลียร์อิดิเตอร์

×   คุณไม่สามารถวางรูปภาพได้โดยตรง กรุณาอัปโหลดหรือแทรกภาพจาก URL

กำลังโหลด...

  • เข้ามาดูเมื่อเร็วๆนี้   0 สมาชิก

    ไม่มีผู้ใช้งานที่ลงทะเบียนกำลังดูหน้านี้

×
×
  • สร้างใหม่...